Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/800
Title: 泰国大学汉语近义词教学设计研究
Other Titles: การออกแบบและวิจัยการเรียนการสอนคำที่มีความหมายคล้ายคลึงกันโดยศึกษาจากมหาวิทยาลัยในประเทศไทย
Instructional Desigh Research Thai University of the Chineses Thesaurus
Authors: 肖瑜
Xiao, Yu
苏静雯
พรพิมล ชุติพรรณทอง
Keywords: ภาษาจีน -- การศึกษาและการสอน
Chinese language -- Study and teaching
汉语 -- 学习和教学
ภาษาจีน -- คำเหมือนและคำตรงข้าม
Chinese language -- Synonyms and antonyms
汉语 -- 同义词和反义词
Issue Date: 2016
Publisher: Huachiew Chalermprakiet University
Abstract: จุดประสงค์ของการทำวิจัยเรื่องนี้้ เพื่อให้นักเรียนได้เข้าใจการใช้คำที่มีความหมายคล้ายกันได้อย่างถูกต้อง จากวิธีการจัดกระบวนการเรียนการสอน ขจัดความสับสนในการใช้ และข้อสงสัยที่เกี่ยวกับการใช้คำที่มีความหมายคล้ายคลึงกัน พัฒนาความสามารถในการใช้คำศัพท์ เพื่อทำให้เกิดความรู้สึกทางภาษาได้อย่างถูกต้อง โดยผ่านการจัดกระบวนการเรียนการสอนในห้องเรียน เนื่องจากคำที่มีความหมายคล้ายกันแบบ 2 พยางค์ มีเป็นจำนวนมาก จึงทำการคัดเลือกคำที่นักศึกษาในประเทศไทยใช้ผิดบ่อย โดยทำการสุ่มตัวอย่างนักศึกษา จำนวน 100 คน จากมหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม และเลือกคำศัพท์ที่มีความหมายคล้ายกันมาจากคำศัพท์ในการสอบวัดระดับความรู้ภาษาจีน HSK ทั้งหมด 60 คู่ และคัดเหลือเพียง 34 คู่ที่นักศึกษาใช้ผิดมากที่สุดเพื่อนำทำการวิจัย เนื้อหาในการวิจัยแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ 1. วิเคราะห์คำที่มีความหมายคล้ายกันจากทฤษฎีหน่วยคำและความรู้สึกทางภาษา 2. เปรียบเทียบคำที่มีความหมายคล้ายกันมาจัดการเรียนการสอน 3. สรุปผลการวิจัยของ 2 ส่วนแรก โดยผ่านทฤษฎีการสอนแบบองค์รวมประกอบกับการจัดการเรียนการสอน โดยวิธีออกแบบสถานการณ์และกิจกรรมให้สอดคล้องกับการจัดการเรียนการสอนเรื่องคำที่มีที่มีความหมายคล้ายกัน ผลสรุปผู้สอนสามารถผ่านการใช้ทฤษฎีต่าง ๆ ในการทำวิจัย รวมทั้งการออกแบบการจัดการเรียนการสอนในห้องเรียนเพื่อแก้ไขปัญหาต่างๆ ในการใช้คำที่มีความหมายคล้ายกันทำให้ผู้เรียนสามารถใช้คำที่มีความหมายคล้ายกัน ทั้ง 34 คู่ ได้อย่างถูกต้องในด้านการเรียนและชีวิตประจำวันและสามารถใช้สื่อสารกับชาวจีนได้อย่างมั่นใจ
The aim of this research was to investigate the most common grammatical errors in the using performance of Chinese learners in the classroom. It was observed about confusingly similar words, bring beneficial out comes in that it help students to develop editing skills and workout useful strategies for improving their learning of language. The purposes of this study were to analyze, re-order phemomena of 2 syllables of synonymous compounds. The sample was selected from 60 pairs of Chinese words in (HSK) language. We found out 34 pairs of them which appear the most frequently commond error by Thai students. The results from the population 100 students of Chandrakasem Rajabhat University. The samples was selected using 3 sections 1. ANALIZED synonymous word of grammatical, morphemes and the sense of language. 2. Comparative synonymous, synomous words and related words used to discussion in the class. 3. Conclusions with 2 ways. By the theory of whole language approach teaching frame work and using situatiom learning and learning activities to gain understanding of synonymous words.
本论文的研究目的在于体重汉语教师在“奠基”与“巩固”学生的近义词汇知识方面的一些教学上的建议,帮助学生正确用词,减少使用偏误。也希望本论文良性互动,解除对近义词的排拒与困惑,是学生有机会主动的运用所学,提高词汇的掌握能力,以达成在课堂活动中培养可靠的汉语语感的终极目标。 由于汉语的数量占双音节近义词类型的绝大多数,限于论文的篇幅,故无法逐一做研究。因此,针对泰国大学生容易混淆的近义词,在泰国庄甲盛皇家大学抽取一百个学生,选出在《汉语水平考试 5-6 级》中相同或相近的六十对部分同素近义词,并最终选出三十四对作为研究重点范围。 本文的研究内容共分三个部分: 第一部分探究(部分同素近义词)的本质以及“语素教学法”和“语感教学”教学理论的可行性。 第二部分提出“语素法”在部分同素近义词教学上的运用,以及课堂教学中近义词的用法对比,试图找出引导学生正确用词而又能借以培养学生语感的有效办法。 第三部分综合前两部分的研究结果,以全语言教学为运用基础,配合情景式学习的基本精神,提出具体的近义词课堂教学活动设计。 结果:教师能够通过研究的理论知识、包括课堂上的各个教学方式来解决学习者对近义词的困惑,使学习者在他们的生活和学习汉语当中能够正确地运用这些三十四对近义词,并有信心地跟中国人交流。
Description: Thesis (M.A.) (Teaching Chinese) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2016
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/800
Appears in Collections:College Of Chinese Studies - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
PORNPIMON-CHUTIPANTONG.pdf
  Restricted Access
2.94 MBAdobe PDFView/Open Request a copy


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.