Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/851
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisor李寅生-
dc.contributor.advisorLi, Yinsheng-
dc.contributor.author姜玉婷-
dc.contributor.authorJiang, Yuting-
dc.date.accessioned2022-10-30T07:24:52Z-
dc.date.available2022-10-30T07:24:52Z-
dc.date.issued2020-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/851-
dc.descriptionThesis (M.A.) (Teaching Chinese) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2020th
dc.description.abstractประเพณีพื้นบ้านถือเป็นส่วนสำคัญของวัฒนธรรมจีน และยังเป็นอีกปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อผู้เรียนภาษาจีนด้วย นอกจากนั้น ผู้เรียนภาษาจีนจะต้องเข้าใจถึงประเพณีพื้นบ้าน และเข้าเป็นส่วนหนึ่งของจีน ต้องเข้าใจวัฒนธรรมประเพณีพื้นบ้านของจีนอย่างถ่องแท้ ในการสอนภาษาจีนนั้นอุปกรณ์การสอนถือเป็นพื้นฐานและเป็นเครื่องมือสำคัญสำหรับอาจารย์และผู้เรียนในการดำเนินกิจกรรมการสอนเป็นอีกช่องทางสำคัญในการสัมผัสกับประเพณีจีนของผู้เรียน วิจัยนี้เลือกวิธีการดำเนินการวิจัยที่แพร่หลายในไทยในปัจจุบันและอาศัยการเปรียบเทียบงานวิจัยของหัวหน้ากองบรรณาธิการวิทยาลัยภาษาและวัฒนธรรมปักกิ่ง และชุดสื่อการสอน Hanyu (ฉบับแก้ไข) ที่จัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยจี่หนานใช้วิธีการรวบรวมสถิติในการแยกประเภทและทำสถิติข้อมููลเกี่ยวกับเนื้อหาประเพณีพื้นบ้านที่เลือกจากหนังสือ 12 เล่ม วิเคราะห์จุดเด่นในการเลือกใช้เนื้อหาด้านประเพณีพื้นบ้านที่สอดแทรกอยู่ในแต่ละช่วงของ Hanyu และจากการสอบถามนักเรียนและสัมภาษณ์อาจารย์ผู้สอน รวมทั้งสำรวจสถานการณ์การใช้ตำราเรียนจริงในโรงเรียนกวงฮัว จังหวัดระยอง ประเทศไทย รวบรวมข้อเรียกร้องของผู้เรียนและข้อเสนอแนะของอาจารย์เกี่ยวกับ Hanyu พบว่ารูปแบบเนื้อหาประเพณีพื้นบ้านใน Hanyu มีลักษณะน่าสนใจและข้อดี คือ ความตรงจุด ครอบคลุมการสื่อสารและเป็นระบบขณะเดียวกันก็ชี้ให้เห็นข้อบกพร่องบางอย่างในตำราเรียนในประเพณีพื้นบ้าน ในที่นี้จะกล่าวถึงการปรับสัดส่วนของภาษาที่สอดแทรกในประเพณีพื้นบ้าน โดยให้ความสำคัญไปที่ประสบการณ์ในภาคปฏิบัติที่เกี่ยวกับประเพณีพื้นบ้านให้ความสำคัญกับการเปรียบเทียบวัฒนธรรมจีนและไทยใส่ใจด้านลักษณะท้องถิ่นที่สอดแทรกในการเลือกประเพณีพื้นบ้านและเสริมสร้างการเลือกใช้ตำราเรียนและอุปกรณ์การสอนที่มีความหลากหลายทางประเพณียิ่งขึ้น ในขั้นสุดท้ายจากการวิเคราะห์จากสถานการณ์จริง จะสามารถให้คำแนะนำในการสอนที่เหมาะสมสำหรับอาจารย์เพื่อดำเนินการสอนด้านประเพณีได้ ในการสอนประเพณีพื้นบ้านต้องสอดคล้องกับการสอนภาษาเนื้อหาของการสอนประเพณีพื้นบ้านจะต้องมีความแตกต่างชัดเจนในการสอนระดับชั้นประถมศึกษาและมัธยมศึกษามองและวิเคราะห์ปัญหาของประเพณีพื้นบ้านของชาติต่างๆ อย่างเป็นกลางและนำวิธีการสอนประเพณีพื้นบ้านหลายๆ วิธีมาประยุกต์ใช้th
dc.description.abstractFolk culture is an important part of Chinese culture, and also an important factor affecting students of the Chinese language. A student of Chinese language must understand Chinese folk culture in order to truly understand China and integrate into China. For Chinese language instruction toward foreign, educational materials are an important tool that both teachers and students depend heavily on and also serve as a path to expose students to Chinese folk culture. The Hanyu Revised Edition, publised by Jinan University, edited by the Beijing Chinese Language School, is widely used in Thai Chinese schools. This paper, using survey and interview methods, seeks to explore and critique the selection process in this educational material and use the feedback for this educational material to provide realistic improvement suggestions for educators teaching folk culture in Rayong Guanghua School, by statistically analyzing the folk culture educational material, and integrating with the usage of this material at this school.th
dc.description.abstract在对外汉语教学中,教材是教师和学习者进行教学活动的依托和重要工具,是学习者接触中国民俗文化的首要途径。本文选取目前在泰国华校使用广泛,由北京华文学院主编,暨南大学出版社出版的《汉语》(修订版)系列教材为研究对象,运用数据统计法对十二册教材中选用的民俗文化内容进行分类统计,分析《汉语》各阶段民俗文化内容的选用特点。通过学生问卷调查和教师访谈,考察该教材在泰国罗勇府公立光华学校的实际使用情况,结合学习者的学习需求以及教师对《汉语》的使用反馈,发现了《汉语》民俗文化内容的选编具有针对性、整体性、交际性、系统性和趣味性等优点。同时指出了教材在民俗文化内容编排上的一些不足之处,提出了调整语言民俗比重;注重民俗文化实践体验;重视中泰文化对比;关注选用民俗的地域性;加强民俗文化选用的多样性等教材编写建议。最后根据实际教学情况,对该校教师开展民俗文化教学提出切实可行的教学建议:民俗文化教学要与语言教学的阶段相适应;民俗文化教学内容主次分明;客观对待不同民族的民俗文化;采用多元民俗文化教学方法。-
dc.language.isozhth
dc.publisherHuachiew Chalermprakiet Universityth
dc.subjectภาษาจีน -- การศึกษาและการสอนth
dc.subjectChinese language -- Study and teachingth
dc.subject汉语 -- 学习和教学th
dc.subjectจีน -- ความเป็นอยู่และประเพณีth
dc.subjectChina -- Social life and customsth
dc.subject中国 -- 社会生活和习俗th
dc.title华文教材《汉语》中的民俗文化研究th
dc.title.alternativeการวิจัยเกี่ยวกับประเพณีพื้นบ้านในหนังสือแบบเรียน HANYUth
dc.title.alternativeResearching the Folk Culture of the Chinese Educational Material HANYUth
dc.typeThesisth
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth
dc.degree.levelปริญญาโทth
dc.degree.disciplineการสอนภาษาจีนth
Appears in Collections:College Of Chinese Studies - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
JIANG-YUTING.pdf
  Restricted Access
2.04 MBAdobe PDFView/Open Request a copy


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.