Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/914
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisor李寅生-
dc.contributor.advisorLi, Yinsheng-
dc.contributor.author杨雯雯-
dc.contributor.authorมิกิ แซ่หย่าง-
dc.date.accessioned2022-11-05T15:13:36Z-
dc.date.available2022-11-05T15:13:36Z-
dc.date.issued2016-
dc.identifier.urihttps://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/914-
dc.descriptionThesis (M.A.) (Teaching Chinese) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2016th
dc.description.abstractตามสถิติจะเห็นได้ว่า สถาบันขงจื้อในประเทศไทยจำนวนผู้เรียนภาษาจีนมีมากเพิ่มขึ้นถึง 1 ล้านคน ติดอันดับหนึ่งของโลก จะเห็นได้ว่าภาษาจีนได้รับความนิยมในประเทศไทยตั้งแต่ปีคริสต์ศักราช 2003 จนถึงปีคริสต์ศักราช 2015 ครูอาสาสมัครจีนมีเพิ่มมากขึ้นจำนวน 1,8831 คน ได้จัดลงพื้นที่สอนตามสถานที่ต่าง ๆ ในประเทศไทย ปัจจุบันประเทศไทยมีการเรียนการสอนวิชาภาษาจีนมากขึ้นและยิ่งเห็นความสำคัญของการเรียนการสอนวิชาภาษาจีน หลายปีที่ผ่านมามีผู้สอนบางส่วนคิดว่าการเรียนการสอนหลักไวยากรณ์จีนไม่ค่อยสำคัญ และเห็นว่าไม่มีประโยชน์อีกทั้งยังไม่สามารถนำไปใช้ในการสื่อสารได้ ดังนั้นโรงเรียนจำนวนไม่น้อยที่เปิดการเรียนการสอนวิชาภาษาจีนและเปิดสอนเฉพาะภาษาจีนเพื่อการสื่อสารเท่านั้นวิทยานิพนธ์เล่มนี้ได้ใช้หลักการการสำรวจและการออกแบบสอบถาม โดยการใช้ข้อเขียนเป็นแบบสอบถามเพื่อหาปัญหาที่พบในการเรียนหลักไวยากรณ์จีนของนักเรียนไทย อ้างอิงจากหนังสือ หลักสูตรนานาชาติเพื่อการเรียนการสอนภาษาจีนระดับหนึ่งและระดับสอง เพื่อมาวิเคราะห์และทำแบบสอบถามหาปัญหาหลักการใช้ไวยากรณ์จีน เรียนรู้ระบุความยากง่ายและจุดผิดพลาดง่ายในหลักไวยากรณ์จีนของนักเรียนไทย ตามที่ได้สำรวจในแบบสอบถามสรุปได้ว่า จากประสบการณ์การสอนหลักไวยากรณ์จีนของผู้วิจัย แสดงให้เห็นว่ามีส่วนช่วยให้นักเรียนสามารถเรียนรู้หลักไวยากรณ์จีนระดับต้นได้ดี ในขณะเดียวกันการทาวิจัยของผู้วิจัยครั้งนี้ได้ทำเอกสารประกอบการเรียนการสอนเกี่ยวกับหลักไวยากรณ์จีน โดยหวังเป็นอย่างยิ่งว่างานวิจัยฉบับนี้คงเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่ศึกษาค้นคว้าภาษาจีนและเป็นอีกหนึ่งแนวทาง ในการจัดการเรียนการสอคนที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้th
dc.description.abstractAccording to the statistics, the number of Confucius Institute in Thailand has ranked first in the world. Meanwhile, the number of people who is learning Chinese rises to 1 million. "Chinese heat" has been fully demostrated. Also, the number of volunteers has dramatically risen to 1883 from 2003 to 2015. Nowadays, a great number of schools in Thailand have opened Chinese language courses and the Thailand government is also more emphasizing on Chinese language teaching. In the past tem yeard, some educators think grammer teaching is not necessary. However, at present, the comparative study of Thai and Chinese grammars cannot match the needs of Chinese teaching. In the process of teaching we have encountered a great number of grammatical problems. In view of these issues, this article mainlty utilized investigation, questionnaire analysis, as well as induction and the description methods to discuss the difficulties that Thailand students may encounter in studying Chinese grammar. Based on part one and part two of the international Chinese Teaching General Syllabus in grammatical study, a questionnaire was designed to find the difficulties and error prone of Thailand students in learning Chinese grammar. According to the results of the questionnaire, in combination with their own teaching experience, we can find the effective way to learn Chinese grammar in Thailand. I really want to offer some help to the grammatical study in the teaching of Chinese as a foreign language. Hopfully, this can by used as a reference for foreign language teachers in Thailand.th
dc.description.abstract据统计,泰国的孔子学院的数量已位居世界第一,学习汉语的人数也如雨后春笋般增长到 100万人。泰国汉语热还充分表现在:从2003年到2015年,新派志愿者人数已经上升到了1883人,分布在泰国的各所学校内。 如今泰国很多学校均开设了汉语课程,也越来越重视汉语教学。在过去的十几年里,一部分专家认为语法教学在对外汉语教学中不是必要的环节,对提高学生的实际交际能力起不到任何的辅助作用。因此在很多学校的对外汉语课中,都只开设口语课,而忽略了语法的学习。笔者认为,在实际交往中,正确的语法一定会对实际的语言交流有极大的帮助。尤其对学汉语的泰国人来说,泰、汉两种语言的语法体系有很大的不同,学习那些汉语独有的语法对于泰国学生而言,是不可缺少的环节,因此对外汉语教学中的语法教学是必不可的。 但是当前有关泰汉语语法的比较研究,还无法满足泰国国内的汉语教学需求。在把汉语作为第二语言进行教学的过程中,我们碰到很多语法问题。例如:目前在泰国的对外汉语教学领域中,对于对外汉语语法教学的研究并不多见,即便有,多数也仅限于简单的泰、汉语言对比。针对这些问题,本文主要运用调查、问卷分析、归纳与描写的方法,讨论泰国学生学习汉语语法的难点。并对《国际汉语教学通用课程大纲》中的语法部分的一、二两个等级进行对照研究,并制作问卷调查,找出泰国学生学习汉语语法的优势、学习难点和易错点。 根据问卷调查的结果,结合自身的教学经验指出泰国学生学习汉语语法的有效方式以期帮助泰国学生更好的掌握初级汉语语法。同时针对泰国汉语教材中的语法部分编写提出个人建议。 本文希望对泰国的对外汉语教学中对语法的研究提供一些帮助,同时也可以作为在泰国的对外汉语教师的参考资料。-
dc.language.isozhth
dc.publisherHuachiew Chalermprakiet Universityth
dc.subjectภาษาจีน -- การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)th
dc.subjectChinese language -- Study and teaching (Secondary)th
dc.subject汉语 -- 学习和教学 (中学)th
dc.subjectภาษาจีน -- ไวยากรณ์th
dc.subjectChinese language -- Gammarth
dc.title泰国中学生初级汉语语法难易度分析及教学对策 ——以泰国北榄府缇丝琳中学的高中学生为例th
dc.title.alternativeการวิเคราะห์ระดับความยากง่ายของกลยุทธ์การเรียนการสอนไวยากรณ์ภาษาจีนระดับต้นของนักเรียนมัธยมในประเทศไทย : กรณีศึกษา โรงเรียนเทพศิรินทร์ สมุทรปราการth
dc.title.alternativeA Difficulty Analysis of Teaching Strategies of Primary Chinese Grammar for Highschool Student in Thailand : A Case Study of Highschool Student of Debsirin Samutprakan Schoolth
dc.typeThesisth
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตth
dc.degree.levelปริญญาโทth
dc.degree.disciplineการสอนภาษาจีนth
Appears in Collections:College Of Chinese Studies - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
MIKI-SAEYANG.pdf2.23 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.