Please use this identifier to cite or link to this item: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/950
Title: 张天翼与克立•巴莫讽刺小说比较研究
Other Titles: การศึกษาเปรียบเทียบนิยายเสียดสีสังคมของจางเทียนอี้และ ม.ร.ว.ศึกฤทธิ์ ปราโมช
A Comparative Study of Zhang Tianye and M.R. Kukrit Pramoj's Satirical Novel
Authors: 徐华
Xu, Hua
肖学锋
เซียว, เสวียเฟิง
Xiao, Xuefeng
Keywords: จาง, เทียนอี้
张天翼
克立•巴莫
วรรณคดีเปรียบเทียบ
Comparative literature
比较文学
การวิเคราะห์เนื้อหา
Content analysis (Communication)
内容分析
คึกฤทธิ์ ปราโมช, ม.ร.ว.
Kukrit Pramoj, M.R
克立 . 巴莫, M.R.
ไทย -- ภาวะสังคม
จีน -- ภาวะสังคม
泰国 -- 社会局势
中国 -- 社会局势
张天翼
Issue Date: 2013
Publisher: Huachiew Chalermprakiet University
Abstract: วรรณคดีสมัยใหม่และร่วมสมัยของจีนและไทยเริ่มเกิดขึ้นระยะเวลาใกล้เคียงกัน ในช่วงหลายปีมานี้แวดวงวรรณคดีเปรียบเทียบได้รับการพัฒนาอย่างเต็มที่และมีการแลกเปลี่ยนทางวรรณคดีบ่อยขึ้นเรื่อยๆ นักเขียนชาวจีนและชาวไทยสองท่าน คือ จางเทียนอี้ (Zhang Tianyi) และ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช นิยายเรื่องสั้นของทั้งสองสร้างภาพลักษณ์ตัวละครไว้จำนวนมาก ทั้งนักการเมือง ปัญญาชน ชนชั้นล่าง เป็นต้น และบรรยายสภาพความเป็นอยู่ทางสังคมที่แท้จริงของแต่ละชนชั้นในสังคม จึงเป็นข้อมูลทางการศึกษาที่เชื่อถือได้ การวิเคราะห์เปรียบเทียบนิยายเรื่องสั้นของจางเทียนอี้ และ ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช เป็นข้อมูลอ้างอิงสำคัญในการทำความเข้าใจความเหมือนและอัตลักษณ์ของวรรณคดีเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในเชิงลึก ขณะเดียวกันก็เป็นอาณาจักรใหม่ของการศึกษาวรรณกรรมภาษาจีนในประเทศไทย วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ทำการศึกษาโดยใช้วิธีวิเคราะห์เชิงวรรณคดีเปรียบเทียบ เริ่มจากศึกษาชีวประวัติและภูมิหลังงานเขียนของนักเขียนทั้งสองท่าน เพื่อเข้าใจถึงลักษณะร่วมในด้านภูมิหลังทางสังคมและประสบการณ์ชีวิต ลำดับต่อไปเป็นการมุ่งศึกษาเปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างของการสร้างภาพลักษณ์ตัวละครอย่างสมจริง ทั้งขุนนาง ข้าราชการ ปัญญาชน และราษฎรในนิยายเรื่องสั้นของนักเขียนทั้งสอง เพื่อใช้เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างในการสร้างภาพลักษณ์ตัวละคนในนิยายแนวเสียดสีของจีนและไทย ลำดับสุดท้าย คือ เปรียบเทียบมุมมอง รูปแบบและวิธีการเหน็บแนมเสียดสีของจางเทียนอี้ และ ม.ร.ว คึกฤทธิ์ ปราโมช เพื่อให้เข้าใจถึงความเหมือนและความแตกต่างในการสร้างสรรค์นวนิยายเสียดสีของจีนและไทยในยุคสมัยเดียวกัน และทราบว่าลีลาการสร้างสรรค์นวนิยายแนวเสียดสีของนักเขียนทั้งสองท่านโน้มเอียงไปทางการใช้เทคนิคการเขียนแบบให้คติสอนใจ
Chinese and Thai modern and contemporary literatures have started out almost at the same time. In recent years, the field of comparative literature has been fully developed and literary exchanges were more frequent. Zhang Tianyi and M.R. Kukrit Promoj, their short shaped a lot of characters, such as politicians, intellectuasl, lower civilians, etc. The image depicted the true aspects of living conditions of each of the social classes, so the derived pictures are reliable. Comparative analysis of Zhang Tiani's and M.R. Kukrit Pramoj's short stories, these provided an important basis for the understanding of the commonness and identities of the Southeast Asian literature. They represent a new study field of Chinese literature in Thailand. This thesis was pursued by using the theories of comparative literature analysis method. First, studying the biography of these who authors and their writing background will help to understand the similaities if their common social background and life experiences. Second, the focus on comparison of similarities and differences between the characters like the bureaucratic, intellectuals and ordinary civiliand etc, helps illustrate their creativity of the characters in satirical novel. Last, comparative study of their vision and writing style in the satirical works of Zhang Tianyi and M.R. Kukrit Pramoj, helps in understanding the similarities and differences in the creation of satirical novel of Chinese and Thai at that time, and learning some techniques of both authors that their works could a moral.
中国与泰国现当代文学几乎在同一时期起步,比较文学领域在近几年来得到了充分的发展,文学交流也逐渐频繁。张天翼与克立·巴莫,两者的短篇小说塑造了大量的政治人物、知识分子,下层平民等形象,形象地描绘了社会各阶层的真实社会生活面貌,具有可靠的研究性。通过对张天翼与克立·巴莫短篇小说比较分析,对于深入了解东南亚文学的的共性与个性美提供重要依据,同时也是泰华文学研究的一块新领域。 本文将以比较文学的分析方法进行研究。首先,以研究两位作者的生平与写作背景,从而了解他们在社会背景与人生经历上的共性。其二,重点研究两位作者的短篇小说中官僚议员形象、知识分子象、普通平民形象的真实塑造与人物形象比较的异同,来比较中泰讽刺小说中对人物形象塑造的异同。最后,通过对张天翼与克立·巴莫讽刺视角,讽刺风格以及讽刺手法的比较,从而了解中泰讽刺小说在同一时代文学创作上的异同,二位作者在创作风格上趋向于寓言式的创作手法进行讽刺小说的创作。
Description: Thesis (M.A.) (Modern and Contemporary Chinese Literature) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2013
URI: https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/950
Appears in Collections:College Of Chinese Studies - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Xio-Xuefeng.pdf35.8 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.