Please use this identifier to cite or link to this item:
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/99
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | 李志艳 | - |
dc.contributor.advisor | Li, Zhiyan | - |
dc.contributor.author | 倪丹 | - |
dc.contributor.author | Ni, Dan | - |
dc.date.accessioned | 2022-04-15T14:33:20Z | - |
dc.date.available | 2022-04-15T14:33:20Z | - |
dc.date.issued | 2020 | - |
dc.identifier.uri | https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/99 | - |
dc.description | Thesis (D.A) (Teaching Chinese) Huachiew Chalermprakiet University, 2020 | th |
dc.description.abstract | การพัฒนาอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยีสารสนเทศในศตวรรษที่ 21 การปรากฏตัวและเป็นที่แพร่หลายของระบบอัจฉริยะ (smart) เครือข่ายอินเตอร์เน็ตและเทคโนโลยีระดับสูงได้ผลักดันการให้ข้อมูลไปสู่ระดับสูงใหม่ ระบบพวกนี้ไม่เพียงแต่เปลี่ยนแปลงชีวิตเรา ยังเติมเต็มประสบการณ์ฝ่าข้อจำกัดของเวลาและพื้นที่และมีความสามารถในการโต้ตอบที่แข็งแกร่งเป็นที่ยอมรับของสาธารณชนโดยไม่สูญเสียลักษณะส่วนบุคคล การพัฒนาเครือข่ายอินเทอร์เน็ตในด้านการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศและแพลตฟอร์มเครือข่ายต่างๆ ทำให้เกิดวิธีการเรียนรู้ใหม่ๆ และค่อยๆ ถูกนำไปใช้กับการเรียนการสอนเพื่อช่วยการเรียนการสอนในชั้นเรียน สภาพการสอนภาษาจีนในฐานะภาษาต่างประเทศในมหาวิทยาลัยไทย ยังคงเป็นวิธีการสอนแบบดั้งเดิม คือ เป็นแบบอาจารย์พูดฝ่ายเดียว ขาดการโต้ตอบ ส่งผลให้ความสนใจในการสืบหาค้นคว้าความรู้ของผู้เรียนไม่สูงนัก บรรยากาศการเรียนในห้องเรียนเป็นแบบคอขวด ซึ่งเราจะสามารถออกแบบรูปแบบการเรียนการสอนในชั้นเรียนให้สอดคล้องกับการพัฒนาในยุคอัจฉริยะ (smart) และใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติการสอนรูปแบบเฉพาะได้อย่างไร จุดประสงค์หลักของบทความนี้ คือ เพื่อสำรวจว่ารูปแบบการสอนแบบใหม่นี้สามารถกระตุ้นความสนใจการเรียนรู้ของผู้เรียนได้หรือไม่ สามารถพัฒนาความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเองของผู้เรียนได้หรือไม่ ซึ่งวิทยานิพนธ์แบ่งออกเป็น 4 ขั้นตอน ดังนี้ ประการแรกใช้การสำรวจเอกสารอ้างอิงการวิจัย เพื่ออธิบายความเป็นมาของการวิจัย วัตถุประสงค์ในการวิจัย เนื้อหาการวิจัย ความสำคัญและวิธีการวิจัย จากนั้นมีการกำหนดแนวคิดหลักของรูปแบบการสอน จากเนื้อหาที่ได้ค้นคว้าวิเคราะห์รูปแบบการเรียนการสอนภาษาจีนแบบดั้งเดิมในมหาวิทยาลัยไทย จากการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ ผู้เขียนยังวิเคราะห์การสอนภาษาจีนที่ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเครื่องมือช่วยในมหาวิทยาลัยของไทยอีกด้วย ประการที่สอง มีการสำรวจภาคสนามและสำรวจจากแบบสอบถาม โดยเป็นการสำรวจข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับหลักสูตร อาจารย์ นักศึกษา การเลือกสื่อการสอนและสภาพแวดล้อมในมหาวิทยาลัยของมหาวิทยาลัย 6 แห่งในกรุงเทพฯ ประเทศไทย แบบสอบถามแบ่งออกเป็น 3 ด้าน ได้แก่ เกี่ยวข้องกับผู้เรียน (รวมถึงแนวคิดการเรียนรู้ ความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเอง และความรู้ด้านสารสนเทศ) เกี่ยวข้องกับผู้สอน (รวมถึงแนวคิดการสอน วิธีการสอนและข้อมูลพื้นฐานของผู้สอน) เกี่ยวข้อกับสภาพแวดล้อม (รวมถึงสภาพแวดล้อมฮาร์ดแวร์) (Hardware Environment) และสภาพแวดล้อมซอฟต์แวร์ (Software Environment) จากการรวบรวมการสำรวจภาคสนามและแบบสอบถามเกี่ยวกับสถานะพื้นฐานของการเรียนการสอนภาษาจีนในมหาวิทยาลัยในกรุงเทพฯ ประเทศไทย ทำให้สรุปสาเหตุความไม่สมดุลของการเรียนการสอนภาษาจีนในห้องเรียน มหาวิทยาลัยไทย ในยุคอัจฉริยะ (smart) ได้ ซึ่งวิเคราะห์สาเหตุความไม่สมดุลจาก 3 ด้าน ได้แก่ ผู้เรียน ผู้สอนและสภาพแวดล้อม ค้นหาปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อความสำเร็จในการสร้างรูปแบบการเรียนการสอนภาษาจีนในมหาวิทยาลัยไทย ในยุคอัจฉริยะ (smart) ประการที่สาม ใช้วิธีการวิจัยเชิงปฏิบัติและการเรียนรู้ จากหลักการสร้างแบบจำลองการสอนที่เสนอโดยนักวิชาการสองคนจากสหรัฐอเมริกา คือ จอยซ็และเวล (B. Joyce, M.Well) เพื่อสร้างรูปแบบการเรียนการสอนภาษาจีนที่เหมาะสมที่สุดสำหรับมหาวิทยาลัยไทย จากพื้นฐานทางทฤษฎีหลักการเพิ่มประสิทธิภาพของการสอนในชั้นเรียนและเงื่อนไขการนำไปใช้และการจัดการ ซึ่งได้ดำเนินการปฏิบัติในชั้นเรียนสองรอบโดยแบ่งตามขั้นตอนอย่างละเอียด (ก่อนเรียน ต้นคาบ กลางคาบ ท้ายคาบ หลังเรียน) จากนั้นได้ใช้วิธีการสังเกตในห้องเรียนและแบบสอบถาม ในการสำรวจความพึงพอใจความสนใจ การมีส่วนร่วมและการรู้ข้อมูล (ความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเอง) ของผู้เรียน ประการสุดท้าย ระบบสนับสนุนรูปแบบการเพิ่มประสิทธิภาพการสอนภาษาจีในมหาวิทยาลัยไทยยุคข้อมูลข่าวสาร การสอนภาษาจีนเป็นระบบการสอนที่ซับซ้อนระบบหนึ่ง อย่างไรก็ตามบทความนี้นำเสนอแนวคิดปัจจุบันของการสอนภาษาจีนทั้งในและต่างประเทศ และกล่าวถึงระบบสนับสนุนของรูปแบบการเพิ่มประสิทธิภาพการสอนภาษาจีนในมหาวิทยาลัยของไทย จากองค์ประกอบพื้นฐาน 3 ประการ ได้แก่ การพัฒนาผู้สอน ยืดอิสระของผู้เรียนเป็นหลักและการปรับสภาพแวดล้อมอัจฉริยะให้เหมาะสม (1) การพัฒนาผู้สอน หมายถึง การสร้างมุมมองการสอนตามผู้สอน ความรู้ด้านสารสนเทศของผู้สอน การสร้างระบบพัฒนาผู้สอนที่ทันสมัย โดยมีแนวคิดวิธีการสอนที่หลากหลายเป็นหัวใจหลัก ซึ่งระบบนี้ช่วยเสริมสร้างแนวคิดในการพัฒนาตนเองและการเรียนรู้ตลอดชีวิตของผู้สอนและเสนอการสนับสนุนความเป็นอิสระของผู้สอน การสร้างแพลตฟอร์มการพัฒนาผู้สอในยุคอัจฉริยะ (smart) และส่งเสริมให้มีการฝึกอบรมผู้สอนในมหาวิทยาลัยและจัดอบรมด้านสารสนเทศ (2) ยึดอิสระของผู้เรียนเป็นหลัก หมายถึง การสร้างปัจจัยที่ช่วยเพิ่มมุมมองการเรียนรู้อย่างอิสระของผู้เรียน การรู้ข้อมูล แรงจูงใจในการเรียนรู้และความสามารถในการเรียนรู้ด้วยตนเอง จากการวิเคราะห์บุคลิกภาพของผู้เรียน ผู้เขียนแนะนำว่าควรให้ความสนใจกับการควบคุมอารมณ์ของการเรียนรู้ด้วยตนเองของผู้เรียน ภายใต้การสอนแบบป้อนข้อมูล มีการเสนอให้โรงเรียน ผู้สอน ผู้ดูแลระบบการสอนและเทคโนโลยีแพลตฟอร์ม มีระบบตรวจสอบและมีส่วนร่วมในหลายๆ ด้าน เพื่อให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาความสามารถในการเรียนรู้อย่างอิสระที่ดี (3) การสร้างสภาพแวดล้อมการเรียนการสอนในห้องเรียนในมหาวิทยาลัย หมายถึง การปรับโครงสร้างและบริการของสภาพแวดล้อมฮาร์ดแวร์ (Hardware Environment) ให้เหมาะสมปรับระบบการประเมินผลหลายรูปแบบและทรัพยากรการสอนเฉพาะบุคคล การสร้างแพลตฟอร์มเป็นต้น บทความนี้ใช้ปรากฏการณ์ความไม่สมดุลของการเรียนการสอนภาษาจีนในมหาวิทยาลัยไทย เป็นจุดเริ่มต้นจากการผสมผสานระหว่างทฤษฎีและการปฏิบัติในชั้นเรียนจึงมีการสร้างรูปแบบการเรียนการสอนภาษาจีนที่เหมาะสมที่สุดในมหาวิทยาลัยไทยในยุคอัจฉริยะ (smart) ผลการวิจัยของบทความนี้ ได้ปรับปรุงผลการเรียนรู้ของผู้เรียนในระดับหนึ่ง ตอบสนองความต้องการด้านการเรียนรู้ของผู้เรียนและมีค้าอ้างอิงเชิงปฏิบัติและค่าอ้างอิงสำหรับการปรับปรุงคุณภาพการเรียนการสอนในชั้นเรียนภาษาจีนในมหาวิทยาลัยของไทย และการปรับปรุงของรูปแบบการเพิ่มประสิทธิภาพในยุคอัจฉริยะ (smart) ซึ่งมีบทบาทส่งเสริมแนวคิดการเรียนรู้ตลอดชีวิตสำหรับผู้เรียนและผู้สอน | th |
dc.description.abstract | In the 21st century, information technology develops rapidly. The emergence and popularization of intelligence, network and high-eng technological means have brought informatization to a new height. informatization has changed our life, has enriched our experience and has broken through the temporal and spatial restrictions. It also has a powerful interactive capacity. So, it can be accepted by the public in use without losing personal styles and features. Along with the development of network, information technology and kinds of online platforms have created new learning patterns in the education field and such new learning patterns have been gradully applied to teaching, learning and auxiliary classroom teaching. In Thailand higher education schools, Mandarin teaching still adopts the traditional teaching model featuring unitary classroom teaching methods, lack of interactivity, low exploration for knowledge and students' low interest in learning. The classroom learning atmosphere has stepped into a bottleneck stage. So, how to design classroom teaching models in conformity with the development of the times under the intelligent era and use it to instruct specific teaching practice, to explore whether the new teaching model can stimulate students' interest in learning and to improve students' self-learning ability have become the research core of this paper. The paper is mainly composed of the following four aspects: First, the research background, research objective, research content, research significance and methods of the paper are elaborated in detail by using literature research, and then core concepts of teaching models are identified through reading literature, three phases of the traditional model of Mandarin teaching in Thailand higher education schools are analyzed, and the advantages and disadvantages of traditional Mandarin teaching in Thailand higher education are taken sort of. Along with the development of the information technology, information technology aided Mandarin teaching in Thailand universities is taken stock of and analyzed too. Second, with the field investigation method and the questionnaire survey method, basic information of six universities in Bangkok of Thailand is investigated from serveral aspects, including curriculum setting, teachers, students, teaching material selection and environments. Questionnaires involve students (inclduing learning concepts, self-learning ability and information quality), teachers (including teaching concepts, teaching methods, PPT classroom and teachers' information quality) and environments (including the hardware environment and the software environment). Through field investigation abd questionnaire survey on the current basic status of Mandarin teching of universities in Bangkok of Thailand, reasons of unbalance of Mandarin classroom teaching in Thailand universities are summarized. Reason of unbalance are analyzed from three aspects, including students, teachers and environments, to find out factors of restricting the successful establishment of Mandarin teaching models in Thailand universities under the intelligent era. Third, the optimized model of Mandarin teaching in Thailand universities is simulated according to the theoretical basis, the optimization principke of classroom teaching, realization conditions and management, by using the practice research method and referring to the teaching model establishment principle put forward by American scholard Joyce and Weil. Through detailing classroom procedures (before class, at the beginning of class, in the class, at the end of the class, after the class), two turns of classroom practice activities regarding optimized models of Mandarin classroom teaching are carried out, and students' satisfaction, interst degree, participation degree and information quality (self-learning ability) for the optimized model are further verified in the way of classroom observation and classroom questionnaire survey. At last, supportive systems of the optimized model of Mandarin teaching in Thailand universities are put forward. In the information-based era, Mandarin teaching is a complex teaching system. This paper introoduces contemporary Mandarin teaching ideas at home and abroad and discusses the supportive system of the optimized model of Chinese teaching in Thailand universities from three basic elements, including teacher development, students' self-learning and optimized intelligent environments.(1) Teachers' development refers to the established of a modern teacher development system taking teachers' teaching concept, teachers' information quality and diversified teaching methods as the core, Based on this system, the concept of self-development of teachers and lifelong learning is further strengthened, and supportive systms are put forward, such ad establishment of teachers' independent and intelligent development platforms, perfection of training of university teachers and informatization of teacher training. (2) Independence of students refers to optimization of cultivation of students' self-learning concept, information quality, learning motivations and self-learning ability. According to analysis of personalities of Thailand students, it is suggested that importance should be attached to the adjustment of students' self-learning emotion under the information-based teaching model; it is put forward that schools, teachers, teaching administrators and technical platform should participate in the monitoring system to help students cultivate a good self-learning ability. (3) Construction of Mandarin classroom teaching enviornments in universities refers to optimization of construction and services of hardware environments, optimization of a diversifies evaluation system as well as eatablishment of personalized teaching resources and platform. Taking unbalance of Mandarin classroom teaching in Thailand universities as the penetration point, this paper constructs the optimized model of Mandarin teaching in Thailand universities under the intelligent era on the basis of combination of theories and classroom practice. The research outcome of this paper improve to some extent learners' ;earning effect, meets the learning demand of contemporary university students, has actual reference significance for the improvement of Mandarin classroom teaching quality in Thailand universities and the perfection of the optimized model under the intelligent era and promotes the optimization of the concept of lifelong learning of students and teachers. | th |
dc.description.abstract | 21 世纪信息技术飞速发展, 智能、网络、高端科技手段的出现和普及将信息化推向了新的高度, 它不仅改变了我们的生活, 丰富我们的体验,突破了时空的限制, 又有极强的交互能力, 能让大众接受使用又不失个人风格特色。网络的发展在教育领域、信息技术和各种网络平台开创了学习的新方式, 并逐渐应用于教学、学习中, 辅助课堂教学。在泰国高校中对外汉语教学现状还属于传统式的教学, 现实的课堂教学方法单一, 缺乏互动性, 对知识的探究性不强, 学生学习的兴趣不高, 课堂中的学习氛围遇到了瓶颈期。怎样在目前智能化发展迅速的阶段研究出与现下相符的课堂教学方式, 并且适用于详细的教学进行过程中, 目的是分析研究这种新兴的教学方式能否吸引起学生的求知欲望, 将学生的自主学习态度提升, 这也是本篇文章展开探究的意义, 本文重点讲述这四部分: 首先, 运用文献调研, 详细阐述了论文的研究背景、研究目的、研究内容、研究意义及方法,然后通过阅读文献, 对教学模式的核心概念进行界定, 对泰国高校汉语教学传统模式的三阶段进行了分析, 并整理出泰国高校汉语传统教学的利弊。伴随现代信息技术的飞速发展, 本文归纳分析了泰国高校信息技术在汉语的教学中起到的辅助作用。 其次, 通过实地考察与调查问卷调查法, 对泰国曼谷地区六所高校分别从课程设置、教师、学生、教材选用及环境进行基本信息的调查。调查问卷涉及到学生(包括学习观念、自主学习能力及信息素养)教师(包括教学观念、教学方法 PPT 课堂和教师信息素养) 环境(包括硬件环境和软件环境)三个层面。 通过泰国曼谷高校汉语教学的基本现状实地调查与调查问卷的结合, 总结出智 能时代下泰国高校汉语课堂教学失衡的原因。从学生、教师以及环境三方面分析失衡的原因, 找出影响智能时代泰国高校汉语教学模式成功建构的制约因素。 | - |
dc.language.iso | zh | th |
dc.publisher | Huachiew Chalermprakiet University | th |
dc.subject | ภาษาจีน -- การศึกษาและการสอน -- ไทย | th |
dc.subject | สถาบันอุดมศึกษา --ไทย (ภาคกลาง) | th |
dc.subject | Chinese language -- Study and teaching -- Thailand | th |
dc.subject | 智能时代 | th |
dc.subject | 汉语教学 | th |
dc.subject | 教学模式 | th |
dc.subject | 优化 | th |
dc.title | 智能时代下泰国高校汉语教学的优化模式研究----以泰国中部六所高校为例 | th |
dc.title.alternative | การวิจัยรูปแบบปัญญาประดิษฐ์ในการสอนภาษาจีนของสถาบันอุดมศึกษาไทยกรณีศึกษาสถาบันอุดมศึกษา 6 แห่งที่อยู่ในภาคกลางของประเทศไทย | th |
dc.title.alternative | Research on Optimized Models of Mandarin Teaching in Thailand Universities under the Intelligent Era : Based on the Six Universities in the Central Area | th |
dc.type | Thesis | th |
dc.degree.name | ศิลปศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต | th |
dc.degree.level | ปริญญาเอก | th |
dc.degree.discipline | การสอนภาษาจีน | th |
Appears in Collections: | College Of Chinese Studies - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
NI-DAN.pdf Restricted Access | 4.22 MB | Adobe PDF | View/Open Request a copy |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.