dc.contributor.author |
ปานทิพย์ รัตนศิลป์กัลชาญ |
|
dc.contributor.author |
ฤทัยวรรณ โต๊ะทอง |
|
dc.contributor.author |
Panthip Rattanasingangchan |
|
dc.contributor.author |
Rutaiwan Tohtong |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Medical Technology |
th |
dc.contributor.other |
Mahidol University. Faculty of Science |
|
dc.date.accessioned |
2023-01-07T06:32:08Z |
|
dc.date.available |
2023-01-07T06:32:08Z |
|
dc.date.issued |
2015 |
|
dc.identifier.uri |
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1036 |
|
dc.description.abstract |
มะเร็งท่อน้ำดีเป็นมะเร็งที่เกิดขึ้นที่บริเวณท่อทางเดินน้ำดี มีความสัมพันธ์กับการอักเสบเรื้อรังจากการติดเชื้อพยาธิที่ตับ ทูเมอร์เนคครอซิสแฟคเตอร์แอลฟาเป็นไซโตไคน์ที่เกี่ยวข้องกับการอักเสบซึ่งหลังจากแมคโครเฟจและเซลล์มะเร็งอีกหลายชนิดที่มีภาวะอักเสบเรื้อรัง ทูเมอร์เนคครอซิสแฟคเตอร์แอลฟาสามารถกระตุ้นให้เซลล์ตายหรืออยู่รอดได้ ขึ้นอยู่กับการกระตุ้นมายังตัวรับสัญญาณที่จำเพาะคือ TNFRI และ TNFRII ทูเมอร์เนคครอซิสแฟคเตอร์แอลฟาสามารถควบคุมการอยู่รอดหรือการตายของมะเร็งท่อน้ำดีได้อย่างไรยังไม่เป็นที่ทราบแน่ชัด จากการทดสอบครั้งนี้พบว่าเซลล์มะเร็งท่อน้ำดีชนิด KKU-100 มีการแสดงออกของตัวรับสัญญาณทั้งสองชนิดคือ TNFRI และ TNFRII การกระตุ้นเซลล์มะเร็งท่อน้ำดีนี้ด้วยทูเมอร์เนคครอซิสแฟคเตอร์แอลฟา พบการลดลงของการอยูรอดของเซลล์หรือการเกิดอะพอพโทซิสอยางไม่มีนัยสำคัญทางสถิติเมื่อทดสอบด้วยวิธี MTT และ DAPI ตามลำดับ การกระตุ้นเซลล์มะเร็งท่อน้ำดีด้วยทูเมอร์เนคครอซิสแฟคเตอร์แอลฟาพบว่าระดับของ pMAPK1/2และpAkt เพิ่มขึ้นเมื่อความเข้มข้นของทูเมอร์เนคครอซิสแฟคเตอร์แอลฟาเพิ่มขึ้น และเมื่อไปยับยั้งMEK1/2และ Akt activity นี้ โดยใช้ U0126และ LY294002 พบว่าสามารถหักล้างการดื้อต่อการเกิดอะพอพโทซิสหลังจากกระตุ้นด้วยทูเมอร์เนคครอซิสแฟคเตอร์แอลฟาได้ ข้อมูลนี้สนับสนุนว่า MAPK และ Akt signaling pathway ทำให้เกิดการต้านทานต่อการเกิดอะพอพโทซิสของทูเมอร์เนคครอซิสแฟคเตอร์แอลฟาโดยไปเพิ่มกลไกการอยูรอดของเซลล์ และเมื่อยับยั้งสัญญาณจาก MAPK และ Akt signaling จะไปลดสัญญาณด้านการอยู่รอดให้ต่ำกว่าระดับของกระบวนการตาย จึงเป็นสาเหตุที่ทำให้เซลล์ตายในที่สุด |
th |
dc.description.abstract |
Cholangiocarcinoma (CCA) is a cancer of the bile duct associated with chronic inflammation due to liver fluke infection. Tumor necrosis factor (TNF)-alpha is a pro-inflammatory cytokine released by macrophages as well as many cancer types with chronic inflammation. TNF-alpha can trigger death and survival, depending on the extent of activation of its cognate receptors, TNFRI and TNFRII. How TNF-alpha regulates survival and death in CCA is not completely understood. Here, we showed that KKU-100, a cholangiocarcinoma cell line, expressed both TNFRI and TNFRII. Treatment with TNF-alpha did not significantly reduce cell survival nor induce apoptotic death as shown by MTT assay and DAPI staining, respectively. Increasing concentrations of TNF-alpha was accompanied by an enhancement of pMAPK1/2 and pAkt level, while inhibition of MEK1/2 and Akt activity by U0126 and LY294002 abrogates resistance to TNF-alpha. These data suggest that MAPK and Akt signaling pathway mediates resistance to TNF-alpha in CCA by enhancing the survival signals, and that suppression of the MAPK and Akt signaling reduced the survival signal to a level below that of the death pathway, causing eventual cell death. |
|
dc.description.sponsorship |
การวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนจากมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติปีการศึกษา 2554 |
th |
dc.language.iso |
th |
th |
dc.publisher |
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ |
th |
dc.subject |
ท่อน้ำดี -- มะเร็ง |
th |
dc.subject |
Bile ducts -- Cancer |
th |
dc.subject |
อะป็อปโทซิส |
th |
dc.subject |
Apoptosis |
th |
dc.subject |
การตายของเซลล์ |
th |
dc.subject |
Cell death |
th |
dc.subject |
Biliary tract -- Diseases |
|
dc.subject |
ทางเดินน้ำดี -- โรค |
|
dc.subject |
ทูเมอร์เนโครสิสแฟคเตอร์แอลฟา |
|
dc.subject |
Tumor necrosis factor alpha |
|
dc.title |
กลไกการตอบสนองภาวะดื้อต่อ Apoptosis ในมะเร็งท่อน้ำดีเมื่อกระตุ้นด้วย TNF-alpha |
th |
dc.title.alternative |
Mechanisms Override the Apoptosis Signal in Holangiocarcinoma after TNF-alpha Treatment |
th |
dc.type |
Technical Report |
th |