DSpace Repository

การศึกษาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนในวิชาภาษาจีนสำหรับนักศึกษาของมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

Show simple item record

dc.contributor.author สุทิน โรจน์ประเสริฐ
dc.contributor.author รัชนีพร ศรีรักษา
dc.contributor.author พิมพรรณ สุรนันท์
dc.contributor.author ลั่นทม จอนจวบทรง
dc.contributor.author กิตติศักดิ์ ทองเจริญ
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะศิลปศาสตร์ th
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี th
dc.date.accessioned 2023-01-16T07:09:38Z
dc.date.available 2023-01-16T07:09:38Z
dc.date.issued 2000
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1058
dc.description.abstract วัตถุประสงค์ของการวิจัยครั้งนี้ คือ เพื่อสร้างบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องการใช้วรรณยุกต์ในภาษาจีน ของวิชาภาษาจีน 1 สำหรับนักศึกษาของมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ และเพื่อศึกษาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 1 ที่ลงทะเบียนเรียนวิชาภาษาจีน 1 ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 542 ของมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ จำนวน 30 คน โดยวิธีการสุ่มแบบง่าย จากการทดสอบสมมุมติฐานพบว่า บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนที่ผู้วิจัยได้สร้างจากโปรแกรมสำเร็จรูปมีประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนเข้าเกณฑ์มาตรฐานที่ตั้งไว้โดยประสิทธิภาพของขบวนการที่ได้จากแบบฝึกหัดระหว่างเรียน (E1) ได้เท่ากับ 90.00 และประสิทธิภาพของผลลัพธ์ที่ได้จากแบบทดสอบหลังเรียน (E2) ได้เท่ากับ 84.83 ซึ่งค่าประสิทธิภาพทั้ง E1 และ E2 สูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้คือ 80/80 th
dc.description.abstract The purposes of this research are to develop computer-assisted instruction in the Chinese tone mark usage for Chinese 1 (CN1113) students at Huachiew Chalermprakiet University, and to evaluate the efficiency of this computer-assisted instruction program. Thirty freshman students in Chinese 1 (CN1113) during the first semester, in the academic year 1999 at Huachiew Chalermprakiet University were selected randomly for this study. A benchmark computer-assisted instruction program. Which produced a standard efficiency score of 80/80. was utilized to evaluate instructional efficiency of the experimental program. In comparison the experimental program produced scores of 90 during the course of study (E1), and 84.83 after the course was completed (E2). Both the efficiency of E1 and (E2 were higher than that of the standard. th
dc.description.sponsorship ได้ทุนอุดหนุนจากมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีการศึกษา 2541 th
dc.language.iso th th
dc.publisher มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ th
dc.subject ภาษาจีน -- คอมพิวเตอร์ช่วยการสอน th
dc.subject Chinese language -- Computer-assisted instruction th
dc.subject คอมพิวเตอร์จัดการสอน th
dc.subject Computer managed instruction th
dc.title การศึกษาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนในวิชาภาษาจีนสำหรับนักศึกษาของมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ th
dc.title.alternative A Study of Effective Computer Assisted Instruction on the Chinese Language for Huachiew Chalermprakiet University Students th
dc.type Technical Report th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account