DSpace Repository

การประเมินสมรรถภาพทางกายของนักศึกษาก่อนและหลังการเรียนวิชา สุขภาพพลานามัยกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต

Show simple item record

dc.contributor.author วิบูลย์ วัฒนกูล
dc.contributor.author Wiboon Wattanakoon
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Arts th
dc.date.accessioned 2023-02-16T06:12:06Z
dc.date.available 2023-02-16T06:12:06Z
dc.date.issued 2001
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1162
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาสมรรถภาพทางกายของนักศึกษาก่อนและหลังการเรียนวิชา GE 1072 สุขภาพพลานามัยกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต กลุ่มตัวอย่าง เป็นนักศึกษามหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ที่ลงทะเบียนเรียนวิชา GE 1072 สุขภาพพลานามัยกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต ภาคเรียนที่ 2/2545 จำนวน 913 คน เป็นนักศึกษาหญิง จำนวน 719 คน นักศึกษาชาย จำนวน 194 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย แบบทดสอบสมรรถภาพทางกายและกิจกรรมการเสริมสร้าง สมรรถภาพทางกาย ดังนี้ การทดสอบสมรรถภาพทางกาย ประกอบด้วย 1. แรงบีบของมือ 2. น้ำหนักร่างกาย 3. ความจุของปอด 4. ยืนกระโดดไกล 5. งอตัวไปข้างหน้า 6. ปริมาณไขมันในร่างกาย 7. ความแข็งแรงกล้ามเนื้อขา 8. ความแข็งแรงกล้ามเนื้อหลัง กิจกรรมเสริมสร้างสมรรถภาพทางกาย ประกอบด้วย 1. กิจกรรมกีฬาลีลาศ 2. กิจกรรมกีฬาเปตอง 3. กิจกรรมกีฬาฟุตบอล 4. กิจกรรมกีฬาแบดมินตัน 5. กิจกรรมการเต้นแอโรบิก 6. กิจกรรมกีฬาวอลเลย์บอล 7. กิจกรรมกีฬาบาสเกตบอล 8. กิจกรรมกีฬาเทเบิลเทนนิส ผลการวิจัย พบว่า ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อขา ความแข็งแรงกล้ามเนื้อหลัง ความแข็งแรงของมือซ้ายและมือขวา ความอ่อนตัวของลำตัว ความจุของปอด การยืนกระโดดไกล หลังการเรียนดีกว่าก่อนการเรียน ปริมาณไขมันในร่างกาย และน้ำหนักของร่างกาย หลังการเรียนลดลงกว่าก่อนการเรียน ทุกกิจกรรมกีฬาเป็นส่วนใหญ่ แสดงว่า สมรรถภาพทางกายของนักศึกษาหลังการเรียนดีกว่าก่อนการเรียน และมีความแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 th
dc.description.abstract This research was aimed to investigate student's physical fitness before and after taking the course GE1072 Health and Quality of Life Development. The subjects were 913 Huachiew Chalermprakiet University students 194 males and 719 females who enrolling the course for the 2 nd semester of the academic year 2002. In finding the results, physical fitness test and sport activity were used as research instrument. Physical fitness tests were done through : 1. Grip strength 2. Body weight 3. Lung capacity 4. Standing broad jump 5. Trunk forward flexion 6. Body fat 7. Leg muscle strength 8. Back muscle strength Sport activities consisted of : 1. Social Dance 2. petangue 3. Foot ball 4. Badminton 5. Aerobic dance 6. Volley ball 7. Basket ball 8. Tabletennis The results showed that student's leg strength, back strength, hand strength, flexibility, lung capacity and standing broad jump were more efficient than before the experiments. In addition, it was found that the amounts of their body fat and weight were decreased after finishing most of the course. The statistical results found that the physical fitness of the students were significantly improved better at the .05 after the course. th
dc.description.sponsorship ได้รับทุนอุดหนุนจากมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีการศึกษา 2544 th
dc.language.iso th th
dc.publisher มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ th
dc.subject มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ -- นักศึกษา th
dc.subject Huachiew Chalermprakiet University -- Students th
dc.subject สมรรถภาพทางกาย th
dc.subject Physical fitness th
dc.subject คุณภาพชีวิต th
dc.subject Quality of life th
dc.title การประเมินสมรรถภาพทางกายของนักศึกษาก่อนและหลังการเรียนวิชา สุขภาพพลานามัยกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต th
dc.title.alternative An Assessment of Student's Physical Fitness before and after Attending Health and Quality of Life Development Learning Course th
dc.type Technical Report th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account