DSpace Repository

การวิเคราะห์การบริหารความเสี่ยงของสหกรณ์ออมทรัพย์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ จำกัด เปรียบเทียบกับสหกรณ์ออมทรัพย์ในจังหวัดสมุทรปราการ

Show simple item record

dc.contributor.author ชลิตพันธ์ บุญมีสุวรรณ
dc.contributor.author Chalitpun Boonmeesuwan
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration th
dc.date.accessioned 2023-02-19T11:43:20Z
dc.date.available 2023-02-19T11:43:20Z
dc.date.issued 2014
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1182
dc.description.abstract การวิเคราะห์การบริหารความเสี่ยงของสหกรณ์ออมทรัพย์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ จํากัด เปรียบเทียบกับสหกรณ์ออมทรัพย์ในจังหวัดสมุทรปราการ ใช้การวิเคราะห์ตามกรอบแนวคิด CAMELS ANALYSIS ในมุมมองทั้ง 6 มิติ โดยใช้การวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน สหกรณ์ออมทรัพย์ที่ใช้เป็นตัวอย่างในการเปรียบเทียบจะแบ่งออกเป็ น 3 กลุ่ม คือขนาดใหญ่ 5 แห่ง ขนาดกลาง 5 แห่ง และขนาดเล็ก 5 แห่ง ผลการวิเคราะห์พบว่าอัตราส่วนทางการเงินที่เป็นจุดแข็งของ สอ.มฉก. คือ มิติที 4 (การทํากำไร) โดยมีอัตราการเติบโตของกำไรสุทธิ และอัตราส่วนกำไรต่อสมาชิก ปรับตัวเพิ่มขึ้น ในมุมมองมิติที่ 1 (ความเพียงพอของเงินทุนต่อความเสี่ยง) สอ.มฉก. มีจุดแข็งคือ เน้นแหล่งเงินทุนภายในสหกรณ์มากกว่า การกู้ยืมจากภายนอก ส่งผลให้อัตราส่วนหนี้สินต่อทุน และอัตราการเติบโตของหนี้สิน มีแนวโน้มปรับตัวลดลง สําหรับในมุมมองมิติที่ 5 (สภาพคล่อง) จะพบว่าอัตราส่วนทุนหมุนเวียน อยู่ที่ 2.25 เท่า ซึ่งแสดงให้เห็นว่ามีสินทรัพย์หมุนเวียนเพียงพอที่จะชําระหนี้สินหมุนเวียนได้ สําหรับอัตราส่วนทางการเงินที่เป็นจุดอ่อนของ สอ.มฉก. คือ มิติที่ 1 (ความเพียงพอของเงินทุนต่อความเสียง) แม้ว่าในเรื่องของเงินทุนจะเป็นจุดแข็งของ สอ.มฉก. ก็ตามแต่เมื่อเปรียบเทียบกับสหกรณ์ในกลุ่มอื่น ๆ แล้วจะพบว่า อัตราการเติบโตของทุน และอัตราส่วนทุนสํารองต่อสินทรัพย์ยังอยู่ในระดับต่ำมุมมองมิติที่ 2 (คุณภาพของสินทรัพย์) จะพบว่าการบริหารสินทรัพย์ยังไม่ก่อให้เกิดรายได้มากนัก ส่วนใหญ่ยังเน้นการลงทุนในเงินฝากสหกรณ์อื่น มุมมองมิติที่ 3 (ความสามารถในการบริหาร) พบวาอัตราการเติบโตของเงินรับฝากและอัตราการเติบโตของเงินให้กูยืมยังอยู่ในระดับที่ต่ำ ข้อเสนอแนะบางประการสําหรับการวิจัยในครั้งนี้ คือ สอ.มฉก. ควรจะได้มีการกระจายการลงทุนไปในสินทรัพย์อื่น ๆ ที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เพื่อลดความเสี่ยงจากเงินฝากในสหกรณ์อื่น นอกจากนั้นควรหากลยุทธ์ในการเพิ่มเงินรับฝากและเงินกู้ยืมให้เพิ่มขึ้นจากในปัจจุบัน th
dc.description.abstract An analysis of risk management of Saving and Credit Cooperative , Ltd at Huachiew Chalermprakiet University in comparison with Saving and Credit Cooperatives in Samutprakarn Province adopts the fundamental framework of CAMELS ANALYSIS in 6 dimensions utilizing financial ratios. The saving and credit cooperatives used comparisons will be divided into three groups : 5 big , 5 medium and 5 small ones . The results showed that the strengths of the HCU Saving and Credit Cooperative live in the following areas. In the fourth-dimension (earning sufficiency),the earning growth and the ratio of profit per member increased. In view of the first-dimension (capital adequacy), HCU Saving and Credit Cooperative has its strength is its emphasis on internal financing rather than external borrowing. That is why the debt to equity ratio and the growth rate of debt had a declining trend . In the fifth-dimension view (liquidity) the working capital ratio of 2.25 times , suggests that there are sufficient current assets to pay the current liabilities. Ad regards the weaknesses of HCU Saving and Credit Cooperative , in the first dimension (capital adequacy), although the funding is a strength, but when compared to the cooperatives in other groups , the growth rate of capital and reserves to assets ratio remained low. In view of the second-dimension (asset quality), the assets did not generate much revenue. Most also were allocated to deposits at other cooperatives. In the third-dimension (management capability), the growth rates of deposits and loans remained low. Some suggestions from this research are the following the HCU Saving and Credit Cooperative should diversify its investment into other assets that yield better returns. Such move will help reduce the risk of deposits at other cooperatives. It should also design more a strategies to increase deposits and loans from the present levels. th
dc.description.sponsorship การวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนจากมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีการศึกษา 2556 th
dc.language.iso th th
dc.publisher มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ th
dc.subject สหกรณ์ออมทรัพย์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ จำกัด th
dc.subject Huachiew Chalermprakiet University Saving and Credit Cooperative , Ltd. th
dc.subject สหกรณ์ออมทรัพย์ -- การบริหาร th
dc.subject Savings and loan associations -- Administration th
dc.subject สหกรณ์ออมทรัพย์ -- ไทย -- สมุทรปราการ th
dc.subject Savings and loan associations -- Thailand -- Samut Prakarn th
dc.subject การบริหารความเสี่ยง th
dc.subject Risk management th
dc.title การวิเคราะห์การบริหารความเสี่ยงของสหกรณ์ออมทรัพย์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ จำกัด เปรียบเทียบกับสหกรณ์ออมทรัพย์ในจังหวัดสมุทรปราการ th
dc.title.alternative An Analysis of Risk Management of Saving and Credit Cooperative, Ltd at Huachiew Chalermprakiet University in Comparison with Saving and Credit Cooperatives in Samutprakarn Province th
dc.type Technical Report th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account