วิทยานิพนธ์ฉบับนี้เป็นวิทยานิพนธ์ที่ศึกษาเปรียบเทียบวรรณกรรมอัตนิยมในต้นศตวรรษที่ 20 ของปาจิณและศรีบูรพา ผู้เขียนได้ทดลองวิจัยเปรียบเทียบจากผลงานของทั้งสองท่านในเรื่อง "บ้าน" และเรื่อง "และไปข้างหน้า" ซึ่งผลงานของทั้งสองท่านเป็นผลงานที่เกิดในยุคสมัยเดียวกันต่างกันก็ตรงที่อยู่กันคนละประเทศ แต่กลับมีความเด่นด้านชนชาติที่ร่วมยุคร่วมสมัยเดียวกันของผู้แต่งทั้งสอง ผลงานต่างก็สะท้อนถึงผลกระทบในด้านสภาพสังคมและวรรณกรรมของทั้งสองประเทศที่เป็นประวัติศาสตร์อันยาวนาน เรื่อง "บ้าน" และเรื่อง "แลไปข้างหน้า" จึงเป็นวรรณกรรมไทย-จีนสมัยใหม่และร่วมสมัยที่ควรค่าอย่างยิ่ง การศึกษาครั้งนี้ได้ศึกษาวิจัยโดยอาศัยทฤษฎีการเปรียบเทียบแนวระนาบเดียวกันในการวิจัย โดยแบ่งเป็นสามบท บทที่ 1 เน้นความสำคัญของความใกล้เคียงของผลงสานการประพันธ์อันยิ่งใหญ่ของผู้แต่งทั้งสองท่านวิจัยด้านอัตชีวประวัติ แนวทางการสร้างผลงานและเส้นทางประชาธิปไตย ในผลงานเรื่อง "บ้าน" และเรื่อง "แลไปข้างหน้า" ผู้เขียนยังได้ศึกษาวิเคราะห์ถึงการเปิดโปงสภาพสังคมศักดินาที่ไม่เป็นธรรมและมืดมน โดยศึกษาวิเคราะห์จากผลกระทบอ้นยาวนานด้านประวัติศาสตร์และการสร้างผลงานการประพันธ์ด้านอัตนิยม บทที่ 2 ศึกษาวิจัยด้านสภาพของประเทศและสภาพโครงสร้างทางด้านจิตใจของประชากรทั้งสองประเทศ โดยศึกษาจากภูมิหลังของสภาพสังคมและวัฒนธรรมของผู้แตงทั้งสอง ที่ทำให้เกิดเหตุปัจจัยของความแตกต่างของผลงานอันยิ่งใหญ่นี้ ขณะเดียวกันยังวิเคราะห์เหตุปัจจัยภายนอกด้านประวัติศาสตร์ การเมืองและวัฒนธรรรมอีกด้วย บทที่ 3 ศึกษาวิจัยความเหมือนและความแตกต่างจากผลงานเรื่อง "บ้าน" และเรื่อง "แลไปข้างหน้า" กล่าวถึงหลังศตวรรษที่ 20 สิ่งที่ทั่วทวีปเอเชียได้ประสบปัญหาสังคม โครงสร้างวัฒนธรรมระหว่างประเทศและสภาพประเทศที่แตกต่างกัน ส่งผลทำให้เกิดความแตกต่างทางด้านประวัติศาสตร์ ด้วยเหตุนี้จึงทำให้เกิดการแลกเปลี่ยนวรรณกรรมไทย-จีนขึ้น และเพื่อยกระดับความสัมพันธไมตรีด้านวัฒนธรรมของไทย-จีนสองประเทศขึ้นไปอีกระดับหนึ่ง
The article will attempt a initial comparative on Bajin's "Home" and Sriburapha's "Look Forward", whose writers as the great representative of realism literature in China and Thailand at the beginning of the 1930s. The two great writers mentioned here, Bajin and Sriburapha, who borned in the same two times, were from different countries but were common with ethnic characteristics of the times. Both of their works have a far-reaching impact on the soical and literary history of the two countries. "Home" and "Look Forward" occupies an important position in the development of modern literary history in the two countries. This article will study on these two works in the way which is called "parallel research". The first chapter will focus on the similarities of the two great works that called "Home" and "Look Forward". Meanwhile analyze the two great writers' own life, their literary creation ways, the darkness of feudalism expoesed in the two works, the sense of far-reaching impact of the two works and realistics. The second chapter will analzye the situation between the two countries and the people's psychological and cultural structure, analyze the reasons why the two works are different from the two writers' socialic, historic and cultural background, meanwhile discuss its cultural, history and political. The third chapter will analyze comparatly the similarity and differences between "Home" and "Look Forward" in order to clarify the common social problems which faces by the whole Asia in the twentieth century as well as the historic task that should be accomplished is different due to different cutural structures and respective situation among Asia countries at that time. As above, the analisis study finally become a possibility of cultural exchange between China and Thailand.
本文将以中泰两国二十世纪三十年代初两位现实主义文学作家——巴金与西巫拉帕为代表,对他们两部作品 ——《家》与《向前看》初步尝试进行比较研究。文中这两位生于同一时代处于不同国家却具有共同时代民族特色的两位作家其作品都对社会及两国文学史有着深远的影响,其中《家》与《向前看》在中泰现代文学发展史前上更是占有重要地位。
本文将运用平行研究方法进行研究第一章将重点比较两本著作中的类似之处对两位作家本身的生活、创作道路及其为民主路所做出的奉献《家》与《向前看》中揭露封建制度的不合理和黑暗的共同主题作品产生的深远影响和现实主义创作进行分析。第二章将分析中泰两国国情及两国人民文化心理结构从两位作家创作的社会时代背景、历史文化背景等因素分析造成两部巨著之间存在差异的原因同时对其文化、历史、政治等外部因素进行探寸: 第三章则从《家》与《向前看》创作的相似与差异中分析,旨在说明二十世纪后整个亚洲所面临的共同社会问题以及亚洲国家之间文化结构的不同、国情的不同而导致出的需要完成的历史使命的不同,从而使中泰文学交流成为一种可能为中泰文化交流作出进一步的铺垫。