DSpace Repository

การศึกษาแนวทางการสร้างมูลค่าเพิ่มในห่วงโซ่อุปทานของผลิตภัณฑ์เครื่องจักสานในอำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี

Show simple item record

dc.contributor.advisor ชุติระ ระบอบ
dc.contributor.advisor Chutira Rabob
dc.contributor.author ปัทมา เพ็ชรดิษฐ
dc.contributor.author Patthama Phetdit
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration
dc.date.accessioned 2022-04-23T03:30:48Z
dc.date.available 2022-04-23T03:30:48Z
dc.date.issued 2016
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/121
dc.description วิทยานิพนธ์ (กจ.ม.) (การจัดการอุตสาหกรรม) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2559. th
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาห่วงโซ่อุปทานของผลิตภัณฑ์เครื่องจักสานและแนวทางการสร้างมูลค่าเพิ่มในห่วงโซ่อุปทานผลิตภัณฑ์เครื่องจักสาน ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้ผลิต ผลิตภัณฑ์เครื่องจักสานที่ขึ้นทะเบียนกับกรมพัฒนาชุมชนจังหวัดชลบุรี กลุ่มตัวอย่างจำนวน 117 คน และสัมภาษณ์เชิงลึกจำนวน 7 คน สถิติที่ใช้คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าวิเคราะห์ความแปรปรวน จากปัญหาความล้าสมัยของเครื่องจักสานส่งผลให้การจำหน่ายเครื่องจักสานลดลงส่งผลต่อคุณภาพชีวิตของชุมชน จึงต้องมีการแก้ไขโดยการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับเครื่องจักสาน โดยภาครัฐสนับสนุนการหาแหล่งวัตถุดิบ การประชุมสัมมนาพัฒนาผลิตภัณฑ์ หีบห่อ การสนับสนุนช่องทางการจัดจำหน่ายให้แก่ผู้ผลิต มีการจัดประกวดผลิตภัณฑ์เครื่องจักสาน เพื่อกระตุ้นให้ผู้ผลิตมีความคิดสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ จัดฝึกอบรมให้ความรู้แก่ผู้ผลิต มีการรวมกลุ่มกันเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ ร่วมกันออกแบบผลิตภัณฑ์หรือการออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่สามารถทัดเทียมกับคู่แข่งได้ ผลการศึกษาพบว่า ให้ความสำคัญกับด้านระบบและกลไกหรือการสนับสนุนจากภาครัฐ ระดับค่าเฉลี่ย 3.21 รองลงมาด้านสร้างความเป็นมืออาชีพให้ผู้ผลิตสามารถออกแบบผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ได้ ระดับค่าเฉลี่ย 3.06 และด้านการพัฒนาทักษะการฝึกอบรมให้ความรู้ ระดับค่าเฉลี่ย 2.94 th
dc.description.abstract The purpose of this research is to study the supply chain of the wicker product and guidelines to add value in supply chain of the wicker product. Population in this study consisted of wicker manufacturers who are registered members of Department of Community Development in PanusNikom District, Chonburi Province. Sample group of 117 people and in-depth interviews total 7 people. Statistics used were percentage, mean, standard deviation, and Analysis of Variance. The obsolescence problem of wicker product, resulting in a sales decrease, affecting the quality of life of the community, therefore, it must be resolved by creating to add value for wicker product. Government-sponsored symposium sourcing, product development, packaging, distribution channels, providibg support to producers. The wicker products contest to encourage the production of new, innovative product training to educate producers. Are grouped together to exchange knowledge. Collaborative product design or packaging design that can rival competitors. The study indicated that with a focus on systems and mechanisma or government support. The average level of 3.21, followed by a professional manufacturers to design new products in the average level of 3.06 and skill development training to educate. The average level was 2.94. th
dc.language.iso th th
dc.publisher มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ th
dc.subject การบริหารงานโลจิสติกส์ th
dc.subject เครื่องจักสาน -- ไทย -- ชลบุรี th
dc.subject Business logistics
dc.subject Bamboo work -- Thailand -- Chonburi
dc.title การศึกษาแนวทางการสร้างมูลค่าเพิ่มในห่วงโซ่อุปทานของผลิตภัณฑ์เครื่องจักสานในอำเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี th
dc.title.alternative The Study of Guidelines Creation Value Added in the Supply Chain on Basketwork Production Phanat Nikhom District Chonburi Province th
dc.type Thesis th
dc.degree.name การจัดการมหาบัณฑิต th
dc.degree.level ปริญญาโท th
dc.degree.discipline การจัดการอุตสาหกรรม th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account