dc.contributor.author |
Rachaniphorn Ngotngamwong |
|
dc.contributor.author |
รัชนีภรณ์ งดงามวงศ์ |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration |
th |
dc.date.accessioned |
2023-03-10T13:11:59Z |
|
dc.date.available |
2023-03-10T13:11:59Z |
|
dc.date.issued |
2015 |
|
dc.identifier.uri |
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1235 |
|
dc.description.abstract |
The purpose of this study was to examine the impacts, opportunities, threats, and challenges of the upcoming 2015 ASEAN Economic Community (AEC) on the Bachelor of Business Administration (BBA) International Programs (IPs) in Thailand. The in-depth interviews with the directions of 14 BBA IP institutions indicated that the majority experienced minimal impacts as their programs were relatively established and were already internationally in alignment with the necessary preparations for the AEC. Opprotunities were vast, particularly with the hopes of increased students enrolment, student and faculty exchanges, and joint research collaboration, while the biggest threats were competition, loss of faculty, and Thailand's poor educational system. Challenges included maintaining and increasing student enrolment, curriculum revisions, increasing English proficiency, coping with the imminent AEC, and bringing about changes. |
th |
dc.description.abstract |
วัตถุประสงค์ของการศึกษาฉบับนี้ คือ เพื่อพิจารณาผลกระทบ โอกาส อุปสรรค และความท้าทาย ของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (เออีซี) ที่จะเข้ามาถึงในปี พ.ศ. 2558 ที่มีต่อหลักสูตรนานาชาติระดับ ปริญญาตรีด้านบริหารธุรกิจ (บีบีเอ) ในประเทศไทย จากการสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้อำนวยการโครงการบีบีเอ นานาชาติของสถาบันต่างๆ 14 แห่ง พบว่า สถาบันต่างๆ ส่วนใหญ่เห็นว่าจะมีผลกระทบเพียงเล็กน้อย เนื่องจากหลักสูตรของแต่ละแห่งได้จัดทำขึ้นเองอย่างเกี่ยวเนื่องกันและสอดคล้องกับของสากลที่เตรียมพร้อมรับการมาถึงของเออีซี สำหรับด้านโอกาสนั้นจะเห็นถึงโอกาสที่เปิดออกอย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะในเรื่องความหวังที่จะมีนักศึกษามาสมัครเข้าเรียนเพิ่มมากขึ้น จะเกิดการแลกเปลี่ยนกันของทั้งนักศึกษาและคณาจารย์ และจะเกิดความร่วมมือด้านการทำวิจ้ยร่วมกัน ในขณะเดียวกัน อุปสรรคที่ใหญ่ที่สุดดูจะเป็นเรื่องการแข่งขัน การสูญเสียบุคลากรด้านคณาจารย์ และระบบการเรียนการสอนที่อ่อนแอของประเทศไทย ทางด้านความท้าทายนั้น ได้แก่ เรื่องการรักษาและการเพิ่มจำนวนนักศึกษา การปรับปรุงหลักสูตร การเพิ่มขีดความสามารถด้านภาษาอังกฤษ การปรับตัวรับมือกับการมาถึงของเออีซีที่ใกล้เข้ามา และการก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง |
th |
dc.description.sponsorship |
This research is supported by Huachiew Chalermprakiet University Academic Year 2015. |
th |
dc.language.iso |
en_US |
th |
dc.publisher |
Huachiew Chalermprakiet University |
th |
dc.subject |
การศึกษานานาชาติ |
th |
dc.subject |
International education |
th |
dc.subject |
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน |
th |
dc.subject |
ASEAN Economic Community |
th |
dc.subject |
บริหารธุรกิจ -- หลักสูตร |
th |
dc.subject |
Business administration -- Curriculum |
th |
dc.subject |
บริหารธุรกิจ -- การศึกษาและการสอน |
th |
dc.subject |
Business administration -- Study and teaching |
th |
dc.title |
Impacts of the ASEAN Economic Community on BBA International Programs |
th |
dc.title.alternative |
ผลกระทบของประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนที่มีต่อหลักสูตรนานาชาติระดับปริญญาตรีด้านบริหารธุรกิจ |
th |
dc.type |
Technical Report |
th |