dc.contributor.author |
วรพรรณี เผ่าทองศุข |
|
dc.contributor.author |
ยุคลธร สถาปนศิริ |
|
dc.contributor.author |
วัลวิภา เสืออุดม |
|
dc.contributor.author |
วิภาพรรณ ชนะภักดิ์ |
|
dc.contributor.author |
Worrapannee Powtongsook |
|
dc.contributor.author |
Yukonthorn Sathapanasiri |
|
dc.contributor.author |
Wanvipa Sueudom |
|
dc.contributor.author |
Wipapan Chanpag |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology |
th |
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology |
|
dc.date.accessioned |
2023-03-18T03:51:13Z |
|
dc.date.available |
2023-03-18T03:51:13Z |
|
dc.date.issued |
2019 |
|
dc.identifier.uri |
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1263 |
|
dc.description.abstract |
งานวิจัยนี้ได้ทำการศึกษาเปรียบเทียบปัจจัยสิ่งแวดล้อม การจัดการ และผลผลิตของปลาสลิด ในบ่อเลี้ยงปลาสลิดของเกษตรกรในจังหวัดสมุทรปราการ ซึ่งแบ่งออกเป็น 3 รูปแบบ ได้แก่ 1) บ่อเลี้ยงแบบดั้งเดิมขนาด 17 ไร่ เป็นการเลี้ยงแบบอาหารตามธรรมชาติ ไม่มีการให้อาหารเสริม 2) บ่อเลี้ยงแบบผสมผสานขนาด 90 ไร่ เป็นการเลี้ยงปลาสลิดแบบให้อาหารเสริมจำพวกปลาป่น รำข้าว และอาหารเม็ด และ 3) บ่อเลี้ยงแบบภูมิปัญญาขนาด 20 ไร่ และ 40 ไร่ เป็นบ่อที่มีการจัดการโดยเติมปุ๋ยคอก น้ำหมักชีวภาพ และอาหารเสริม ผลการศึกษาพบว่าคุณภาพน้ำในบ่อเลี้ยงปลาส่วนใหญ่อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสมต่อการเลี้ยงสัตว์น้ำ อย่างไรก็ตาม พบปริมาณแบคทีเรียกลุ่มโคลิฟอร์มและฟีคัลโคลิฟอร์มสูงกว่าเกณฑ์มาตรฐานเป็นบางช่วง ซึ่งอาจเกี่ยวข้องกับการเติมปุ๋ยคอกลงในน้ำเพื่อช่วยเร่งการเติบโตของจุลินทรีย์ในบ่อ และพบการขาดออกซิเจนที่ก้นบ่อ เป็นผลมาจากการสะสมของสารอินทรีย์ปริมาณมาก โดยผลผลิตของปลาจากการศึกษาครั้งนี้พบว่าบ่อเลี้ยงปลาแบบดั้งเดิมขนาด 17 ไร่ ให้ผลผลิตสูงที่สุดคือ 167 กิโลกรัมต่อไร่ รองลงมาคือบ่อแบบผสมผสาน 53.8 กิโลกรัมต่อไร่ ในขณะที่บ่อแบบภูมิปัญญาให้ผลผลิตต่ำที่สุดคือ 21.6 กิโลกรัม/ไร่ในบ่อขนาด 10 ไร่ ส่วนบ่อแบบภูมิปัญญาขนาด 20 ไร่ ไม่มีผลผลิตปลาเนื่องจากความเค็มของน้ำขึ้นสูงมาก |
th |
dc.description.abstract |
Comparison of environmental conditions, management and production yield of Snakeskin Gourami fish were studied in this research. There were 3 fish culture types i.e. 1) folk wisdom style fish pond which were 20 Rai (3.2 Ha) and 40 Rai (6.4 Ha) earthen ponds applied with manure, liquid fermented biofertilizer and supplement (fish meal, rice bran and commercial fish feed pellet), and 3) traditional fish pond with natural food only. The results showed that most of the water quality parameters were within the standard for aquculture. However, concentrations of coliform and fecal coliform bacteria were higher than the standard value for some period. This was possibly due to the addition of manure in to fish pond to enhance growth of microorganisms. Oxygen deplete was found at the pond bottom as the result from high organic matter accmulation. The highest production yield of Snakeskin Gourami was by 17 Rai traditional ponds (167 kg/Rai) following by integrated fish pond (53.8 kg/Rai) . On the other hand, the folk wisdom style ponds had the lowest production yield (21.6 kg/Rai) in 10 Rai ponds while the production of fish in 20 Rai pond was nonexistence due to high salinity. |
th |
dc.description.sponsorship |
การวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนจากมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีการศึกษา 2557 |
th |
dc.language.iso |
th |
th |
dc.publisher |
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ |
th |
dc.subject |
คุณภาพน้ำ |
th |
dc.subject |
Water quality |
th |
dc.subject |
ปลาสลิด -- การเลี้ยง |
th |
dc.subject |
Snakeskin Gourami |
th |
dc.title |
การเปรียบเทียบคุณภาพน้ำและการเจริญเติบโตของปลาสลิดในบ่อเลี้ยงปลาสลิดแบบดั้งเดิม แบบผสมผสานและแบบภูมิปัญญา |
th |
dc.title.alternative |
Comparison of Water Quality and Growth of Snakeskin Gourami (Trichogaster pectoralis) between Traditional, Integrated and Folk Wisdom Styles Fish Ponds |
th |
dc.type |
Technical Report |
th |