dc.contributor.author |
เพ็ญพักตร์ มูลธิยะ |
|
dc.contributor.author |
พัชรี กัมมารเจษฎากุล |
|
dc.contributor.author |
ปัญจพร นิ่มมณี |
|
dc.contributor.author |
ปานทิพย์ รัตนศิลป์กัลชาญ |
|
dc.contributor.author |
อิสสริยา เอี่ยมสุวรรณ |
|
dc.contributor.author |
Penpak Moolthiya |
|
dc.contributor.author |
Patcharee Kammarnjassadakul |
|
dc.contributor.author |
Panjaphorn Nimmanee |
|
dc.contributor.author |
Panthip Rattanasinganchan |
|
dc.contributor.author |
Isariya Ieamsuwan |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Medical Technology |
th |
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Medical Technology |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Medical Technology |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Medical Technology |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Medical Technology |
|
dc.date.accessioned |
2023-03-27T13:50:24Z |
|
dc.date.available |
2023-03-27T13:50:24Z |
|
dc.date.issued |
2018 |
|
dc.identifier.uri |
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1289 |
|
dc.description |
โครงการวิจัยนวัตกรรมพัฒนาพื้นที่เพื่อเพิ่มมูลค่าของห่วงโซ่เศรษฐกิจปลาสลิดบางบ่อตามยุทธศาสตร์ส่่งเสริมสินค้าเกษตรปลอดภัยเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม จังหวัดสมุทรปราการ |
th |
dc.description.abstract |
ปลาสลิดเป็นปลาน้ำจืด ซึ่งเป็นปลาพื้นบ้านของประเทศไทย มีแหล่งกำเนิดอยู่ในที่ลุ่มภาคกลาง มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า "Trichogaster pecteralis" นิยมเลี้ยงกันมากในแถบบริเวณภาคกลางของประเทศไทย การจัดจำแนกปลาจะอาศัยการสังเกตจากลักษณะรูปร่าง สี ขนาดความยาวหรือการเรียงตัวของเกล็ดปลา หรือองค์ประกอบอื่นๆ ที่อยู่ภายในตัวปลา ผู้เลี้ยงปลาสลิดในจังหวัดสมุทรปราการเป็นผู้แปรรูปปลาสลิดสดเป็นปลาสลิดหอมและปลาสลิดแดดเดียวจากภูมิปัญญาของคนในท้องถิ่น ซึ่งในปัจจุบันนี้ก็ยังไม่มีจังหวัดไหนผลิตปลาสลิดหอมได้รสชาติดีเท่า แต่เนื่องจากปัจจุบันผู้เลี้ยงปลาสลิดมีจำนวนลดลงไปมาก เพราะมีเขตอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น โดยงานวิจัยนี้ ต้องการจะหาลักษณะที่เป็นเอกลักษณ์ปลาสลิดในอำเภอเมืองและอำเภอบางเสาธง ในจังหวัดสมุทรปราการ โดยวิเคราะห์จากลักษณะพื้นฐานทางสัณฐานวิทยาภายนอก ลาย สี และลักษณะนับวัดทั้งหมด 7 ปัจจัย ได้แก่ ความยาวทั้งหมด ความยาวมาตรฐาน ความยาวจะงอยปาก ความยาวหัว เส้นผ่านศูนย์กลางตา ความลึกลำตัว และความยาวครีบอก เข้ามาช่วยในการหาลักษณะของปลาสลิด เพื่อเป็นประโยชน์ต่อเกษตรผู้เลี้ยงปลาต่อไป จากผลการวิจัยพบว่าแหล่งเลี้ยงปลาสลิดในอำเภอเมืองและอำเภอบางเสาธง มีปลาสลิดทั้งลายแดงไทยและลายเสืออยู่ปะปนกัน โดยตัวอย่างปลาสลิดจะมีลักษณะเด่น คือ ลำตัวเรียงแบน มีสีดำเข้ม โดยเพศผู้จะมีลักษณะลำตัวยาวเรียวสันหลัง และสันท้องเกือบเป็นเส้นขนานกัน ลายมีสีเข้ม ส่วนปลาสลิดเพศเมียมีลักษณะลำตัวสั้นป้อม มีท้องยาวมน ไม่ขนานกับสันหลัง มีสีจาง จากลักษณะนับวัด พบกลุ่มตัวอย่างปลาสลิดลายแตงไทยจากอำเภอเมือง มีความยาวทั้งหมด และความยาวมาตรฐาน ยาวกว่าปลาสลิดจากอำเภอเมืองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ |
th |
dc.description.abstract |
Snakeskin gourami (Trichogaster pecteralis) is freshwater fish native to Southeast Asia. The snakeskin gourami fish is widely distributed in the central region of Thailand. The classification of fish is based on the obervation of the shape, color, size and length of the fish or other elements inside the fish. The snakeskin gourami fish in Samutprakan province are very famous in the form of dried Pla-salid which has the unique taste. Nowadays, the number of farmers is decreasing due to increasing of industrial area. This research aimed to find out the unique characteristics of the snakeskin gourami fish from Maung and Bang Sao Thong prefecture in Samutprakan by comparing size, colour, patterns on the skin of fish and 7 morphometrics including total length, standard length, beak length, head length, eye diameter, body depth and pectoral fin length. The results showed both types of the snakeskin gourami fish, tiger banded and singel banded in the middle were mixed in both areas with a slender dark body caused by a natural feeding. The different between male and female; male fish have a long, slender darker body than female and the belly is almost parallel. Females have a shortening faded body with a long belly and not parallel to the spinal column. From morphometric characters, the total length and standard length of the snakeskin gourami from Maung prefecture was longer than of the snakeskin gourami from Bang Sao Thong, significantly. |
th |
dc.description.sponsorship |
สนับสนุนโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ; สัญญาเลขที่ RDG60A0013-01 และ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ |
th |
dc.language.iso |
th |
th |
dc.publisher |
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ |
th |
dc.subject |
ปลาสลิด -- ไทย -- สมุทรปราการ |
th |
dc.subject |
Snakeskin gourami -- Thailand -- Samut Prakarn |
th |
dc.subject |
สัณฐานวิทยา |
th |
dc.subject |
Morphology |
th |
dc.title |
การศึกษาเปรียบเทียบลักษณะสัณฐานวิทยาของปลาสลิดบางบ่อกับปลาสลิดแหล่งอื่นในประเทศไทย : รายงานฉบับสมบูรณ์ |
th |
dc.title.alternative |
Comparison Study on Morphologicals of Trichogaster Pectoralis from Bang Bo District and Other Districts in Thailand |
th |
dc.title.alternative |
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ การศึกษาเปรียบเทียบลักษณะสัณฐานวิทยาของปลาสลิดบางบ่อกับปลาสลิดแหล่งอื่นในประเทศไทย |
th |
dc.type |
Technical Report |
th |