DSpace Repository

ผลของการออกกำลังกายอย่างหนักต่อการทำงานของแฟกเตอร์ VIII : C และ แอนตีทรอมบิน III ในนักศึกษาเพศชาย

Show simple item record

dc.contributor.author เมตตา โพธิ์กลิ่น
dc.contributor.author จันเพ็ญ บางสำรวจ
dc.contributor.author Maitta Phoglin
dc.contributor.author Janpen Bangsumruaj
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology th
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology
dc.date.accessioned 2023-03-27T15:05:09Z
dc.date.available 2023-03-27T15:05:09Z
dc.date.issued 2009
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1291
dc.description.abstract การวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาผลของการออกกำลังกายอย่างหนักต่อระดับแฟกเตอร์ VIII และ แอนตีทอมบิน III ในนักศึกษาเพศชายจำนวน 20 คน โดยแบ่งเป็นกลุ่มควบคุม 10 คนและกลุ่มออกกำลังกาย 10 คน ก่อนเริ่มทดสอบ ทั้ง 2 กลุ่มจะถูกวัดค่าความสามารถในการใช้ออกซิเจนสูงสุด หลังจากนั้น 1 สัปดาห์จึงทำการทดสอบด้วยการออกกำลังกายโดยใช้จักรยานวัดงาน ผู้ถูกทดสอบในกลุ่มออกกำลังกายจะถูกเก็บเลือดก่อนและหลังออกกำลังกาย 15 นาที โดยกลุ่มควบคุมจะถูกเก็บเลือดในช่วงเวลาเดียวกันแต่ไม่มีการออกกำลังกาย ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มออกกำลังกายมีค่าการทำงานของแฟกเตอร์ VIII เพิ่มขึ้น (P< 0.05) โดยที่การทำงานของแอนตีทอมบิน III มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเล็กน้อยแต่ไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ อย่างไรก็ตามในกลุ่มควบคุมค่าการทำงานทั้งแฟกเตอร์ VIII และ แอนตีทอมบิน III ไม่เปลี่ยนแปลง จากผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่าแฟกเตอร์ VIII ซึ่งมีความสัมพันธ์กับการเกิดภาวะลิ่มเลือดอุดตันสามารถเพิ่มขึ้นได้ด้วยการออกกำลังกายอย่างหนัก th
dc.description.abstract The objective of this study was to investigate the effects of maximal exercise on factor VIII and antithrombin III activity in male students. Twenty men were divided into two groups, a control group (n=10) and an exercise group (n=10). Both groups, maximal oxygen consumption was measured before the exercise test. One week later, the exercise group performed a maximal exercise test on bicycle ergometer. Blood samples were collected before and 15 minutes after the completion of the test. The control group’s blood samples were drawn at the same time as the exercise group, but did not exercise. It was found that the exercise group showed an increase in factor VIII activity (P<0.05), there was a small increase in antithrombin III activity, but the difference was not statistically significant. These parameters did not change in the control group. These results indicate that factor VIII which is related to thrombosis can be increased by maximal exercise. th
dc.description.sponsorship ได้รับทุนอุดหนุนจากมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีการศึกษา 2550 th
dc.language.iso th th
dc.publisher มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ th
dc.subject การออกกำลังกาย th
dc.subject Exercise th
dc.subject การแข็งตัวของเลือดผิดปกติ th
dc.subject Blood coagulation disorders th
dc.subject ภาวะหลอดเลือดมีลิ่มเลือด th
dc.subject Thrombosis th
dc.subject เลือด $xการแข็งตัว th
dc.subject Blood -- Coagulation th
dc.title ผลของการออกกำลังกายอย่างหนักต่อการทำงานของแฟกเตอร์ VIII : C และ แอนตีทรอมบิน III ในนักศึกษาเพศชาย th
dc.title.alternative Effects of Maximal Exercise on Factor VIII : C and Antithrombin III Activity in Male Students th
dc.type Technical Report th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account