DSpace Repository

การสร้างแบบฝึกอ่านออกเสียงคำควบกล้ำสำหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

Show simple item record

dc.contributor.author ปราโมทย์ ชูเดช.
dc.contributor.other มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะศิลปศาสตร์ th
dc.date.accessioned 2023-04-03T13:01:55Z
dc.date.available 2023-04-03T13:01:55Z
dc.date.issued 2004
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1317
dc.description.abstract การวิจัยเรื่อง การสร้างแบบฝึกอ่านออกเสียงควบกล้ำสำหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ มีจุดมุ่งหมายเพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ในการอ่านออกเสียงควบกล้ำของนักศึกษาก่อนและหลังการใช้แบบฝึก กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาของมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติที่ลงทะเบียนเรียนวิชาพูดเพื่อการสื่อสาร ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2547 จำนวน 30 คน ดำเนินการวิจัยโดยใช้แบบทดสอบที่ใช้วัดผลสัมฤทธิ์การอ่านออกเสียงควบกล้ำ ซึ่งมีความเชื่อมั่น 0.85 ทดสอบก่อนฝึกและนำแบบฝึกการอ่านออกเสียงควบกล้ำทั้ง 25 แบบฝึก ไปใช้กับกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้เวลาฝึกครั้งละ 60 นาที หลังการฝึกแล้วได้ทดสอบอีกครั้ง โดยใช้ผลการทดสอบหลังฝึก เพื่อหาความแตกต่างระหว่างผลการทดสอบดังกล่าว โดยคำนวณค่าร้อยละของจำนวนคนที่อ่านผิดหลังฝึก สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์คือ t-test แบบ dependent group ผลการวิจัยพบว่า การใช้แบบฝึกอ่านออกเสียงคำควบกล้ำทั้ง 25 แบบฝึกที่สร้างขึ้นเมื่อนำไปทดลองฝึกกับกลุ่มตัวอย่างแล้ว ทำให้มีพัฒนาการดีขึ้นหลังการฝึกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ได้คะแนนเฉลี่ยเพิ่มจากเดิมร้อยละ 72.67 เป็น 95.22 แสดงว่าแบบฝึกนี้มีประสิทธิภาพ th
dc.description.abstract This study is Creating pattern practice for Thai consonant clusters for Huachiew Charlermprakiet University students. The purpose is compare the effect of clusters’s pronunciation before and after using pattern drills of the student. The research consists of 30 students who are the student of Thai Communication in Semester 1 Academic Year 2004 at Huachiew Charlermprakiet University. The study was pretested by achievement test on pronunciation of clusters with reliability of 0.85 percent. Then the 25 pattern drills were administered to the study with 30 minutes. The study was posttested by the same test. After using pattern drills, the Data were analyzed by T-test (dependent group). The results revealed that there was significant difference at .01 level between pretested-gain (72.67). It could be concluded that these pattern drills were effective. th
dc.description.sponsorship การวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนจากมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีการศึกษา 2546 th
dc.language.iso th th
dc.publisher มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ th
dc.subject มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ -- นักศึกษา th
dc.subject Huachiew Charlermprakiet University -- Students th
dc.subject ภาษาไทย -- การออกเสียง th
dc.subject Thai language -- Pronunciation th
dc.subject การอ่านออกเสียง th
dc.subject Oral reading th
dc.subject ภาษาไทย -- คำควบกล้ำ th
dc.subject Thai language -- Diphthongs th
dc.title การสร้างแบบฝึกอ่านออกเสียงคำควบกล้ำสำหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ th
dc.title.alternative Creating Pattern Practice for Thai Consonant Clusters for Huachiew Charlermprakiet University Students th
dc.type Technical Report th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account