dc.contributor.author |
สุรีรัตน์ มาระโพธิ์ |
|
dc.contributor.author |
เตือนจิตต์ จิตต์อารี |
|
dc.contributor.author |
บรรจบ ปิยมาตย์ |
|
dc.contributor.author |
ไพศาล ทองสัมฤทธิ์ |
|
dc.contributor.author |
สมศรี จันทร์สม |
|
dc.contributor.author |
สุธิดา สุนทรวิภาต |
|
dc.contributor.author |
สายฝน วรรณสินธพ |
|
dc.contributor.author |
เพ็ญฤดี เหล่าปทุมวิโรจน์ |
|
dc.contributor.author |
ขวัญชนก สืบสุข |
|
dc.contributor.author |
กิติกา กรชาลกุล |
|
dc.contributor.author |
Sureerat Marapo |
|
dc.contributor.author |
Tuanjit Jitaree |
|
dc.contributor.author |
Banjob Piyamat |
|
dc.contributor.author |
Phaisan Thongsamrit |
|
dc.contributor.author |
Somsri Jansom |
|
dc.contributor.author |
Suthida Soontornwipat |
|
dc.contributor.author |
Saiphon Wunnasinthop |
|
dc.contributor.author |
Penrudee Laopatumwirot |
|
dc.contributor.author |
Khwanchanok Suesuk |
|
dc.contributor.author |
Kitika Karanchalkul |
|
dc.contributor.author |
陈慕贤 |
|
dc.contributor.author |
王燕琛 |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Arts |
th |
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Arts |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Arts |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Arts |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Arts |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Arts |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Arts |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Arts |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Arts |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Arts |
|
dc.date.accessioned |
2023-06-02T13:43:18Z |
|
dc.date.available |
2023-06-02T13:43:18Z |
|
dc.date.issued |
2009 |
|
dc.identifier.uri |
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1365 |
|
dc.description.abstract |
บทคัดย่อครั้งนี้เป็นการประเมินหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ-ภาษาจีน (หลักสูตรนานาชาติ) หลักสูตรใหม่ พุทธศักราช 2549 ของมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ โดยประเมินเกี่ยวกับบริบทต่างๆ ได้แก่ วัตถุประสงค์หลักสูตร ในด้านความชัดเจนของวัตถุประสงค์ของหลักสูตร และความสอดคล้องกับความต้องการของสังคม ประเมินความเหมาะสมของปัจจัยเบื้องต้นของหลักสูตร ได้แก่ โครงสร้างและเนื้อหาหลักสูตร คุณลักษณะอาจารย์ คุณสมบัติของนักศึกษา ความพร้อมของสิ่งอำนวยความสะดวกการจัดการเรียนการสอน สถานที่เรียน และปัญหาและอุปสรรคที่เกิดในการเรียนการสอน ด้านกระบวนการบริหารจัดการหลักสูตร ได้แก่ กระบวนการเรียนการสอน การวัดและประเมินผลหลักสูตร และการบริหารหลักสูตร ด้านผลการใช้หลักสูตร ได้แก่ คุณลักษณะของบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาตามหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ-ภาษาจีน ในการวิเคราะห์ข้อมูลผู้วิจัยวิเคราะห์ข้อมูลจากการตอบแบบสอบถามของกลุ่มตัวอย่างซึ่งประกอบด้วย 1) นักศึกษาปัจจุบันคณะศิลปศาสตร์ สาขาวิชาภาษาอังกฤษ-ภาษาจีน ชั้นปีที่ 1-4 ภาคเรียนที่ 3/2552 และภาคเรียนที่ 1/2553 จำนวน 139 คน 2) อาจารย์ที่สอนในหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ-ภาษาจีน และได้ปฏิบัติงานการสอนในมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ตั้งแต่ปีการศึกษา 2549 จำนวน 45 คน 3) บัณฑิตมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ-ภาษาจีน (หลักสูตรนานาชาติ) จำนวน 17 คน 4) ผู้ใช้บัณฑิต จำนวน 17 คน และ 5) ผู้ทรงคุณวุฒิ จากภายนอกสถาบัน จำนวน 10 คน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ ด้านบริบทของหลักสูตรวัตถุประสงค์ของหลักสูตรข้อที่ 1 ผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ ความสามารถในการใช้ทักษะทางภาษาอังกฤษและภาษาจีน ทั้ง 4 ทักษะ คือ การฟัง พูด อ่าน เขียน และแปลได้อย่างถูกต้อง และเหมาะสมกับสถานการณ์มีคะแนนเฉลี่ยสูงที่สุด ในภาพรวมอาจารย์ นักศึกษาปัจจุบัน บัณฑิต และผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก เห็นด้วยกับจุดมุ่งหมาย หรือวัตถุประสงค์ของหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ-ภาษาจีน (หลักสูตรนานาชาติ) ในระดับมาก ด้านความเหมาะสมของปัจจัยเบื้องต้นของหลักสูตร ที่เกี่ยวกับโครงสร้างหลักสูตร พบว่าหัวข้อจำนวนหน่วยกิต 150 หน่วยกิตทั้งโครงสร้างหลักสูตรมีคะแนนเฉลี่ยสูงที่สุด ในภาพรวมอาจารย์ นักศึกษาปัจจุบันบัณฑิต และผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก เห็นด้วยกับโครงสร้างหลักสูตรและรายวิชาในระดับมาก ส่วนปัญหาและอุปสรรคที่เกี่ยวกับสิ่งอำนวยความสะดวกในการจัดการเรียนการสอน พบว่าหัวข้อปัญหาอุปกรณ์ในห้องเรียนและห้องปฏิบัติการทางภาษาชำรุดบ่อยครั้งมีคะแนนเฉลี่ยสูงสุด ในภาพรวมอาจารย์ นักศึกษาปัจจุบัน และบัณฑิต เห็นด้วยกับปัญหาและอุปสรรคที่เกี่ยวกับสิ่งอำนวยความสะดวกในการจัดการเรียนการสอนในระดับปานกลาง ด้านกระบวนการบริหารจัดการหลักสูตรซึ่งมีการสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของการจัดการเรียนการสอน พบว่า หัวข้อจำนวนรายวิชาที่เปิดเป็นไปตามแผนการศึกษา มีคะแนนเฉลี่ยสูงสุด และจากการสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของการจัดการเรียนการสอนที่ส่งเสริมด้านต่างๆ ให้กับผู้เรียน พบว่าหัวข้อการจัดการเรียนการสอนแต่ละรายวิชาส่งเสริมให้ผู้เรียนแสดงความคิดเห็นได้อย่างเสรี และการจัดการเรียนการสอนแต่ละรายวิชา มีการเน้นทั้งทฤษฎีและปฏิบัติ มีคะแนนเฉลี่ยสูงสุดในภาพรวมความเห็นเกี่ยวกับความเหมาะสมของการจัดการเรียนการสอนอยู่ในระดับมาก ด้านผลการใช้หลักสูตร จากการสำรวจความคิดเห็นของผู้ใช้บัณฑิตด้านความรู้ความสามารถทางวิชาการ พบว่า ผู้ใช้บัณฑิตเห็นด้วยกับความสามารถของบัณฑิตในการใช้ภาษาอังกฤษและภาษาจีนได้ดีในระดับมาก และจากการสำรวจความคิดเห็นของผู้ใช้บัณฑิตด้านคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณในวิชาชีพ พบว่าผู้ใช้บัณฑิตเห็นด้วยกับความมีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณในวิชาชีพในระดับมาก ข้อเสนอแนะที่มีต่อหลักสูตรรวมถึงการเน้นและฝึกทักษะทางภาษาทั้ง 4 ด้านโดยเฉพาะทักษะด้านการพูด การเปิดรายวิชาการฝึกงานด้านภาษาอังกฤษ-ธุรกิจ และการเพิ่มวิชาการแปลภาษาอังกฤษ-ธุรกิจในกลุ่มวิชาเลือก ผลการศึกษาครั้งนี้ใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการปรับปรุงหลักสูตรและปัจจัยเกื้อหนุน เพื่อให้การจัดการศึกษาในหลักสูตรบรรลุวัตถุประสงค์ต่อไป |
th |
dc.description.abstract |
The purpose of this study was to evaluate English-Chinese Major Curiculum (International Program, Revised edition, Academic year 2006), Huachiew Chalermprakiet University. The evaluation focused on 4 aspects including the objectives ofthe curiculum, the structure ofthe curriculum and educational equipment, curriculum management, and the characteristics ofthe graduates. The subjects of this study consisted of 139 English-Chinese major students in the first- year, second-year, third-year and fourth-year groups, 45 instructors, 17 graduates, and l0 scholars from outside. Data Analysis was based on four rating scale questionnaires. The data was analyzed in terms of frequency, percentage, and the differences ofmean groups. The results ofthis research were as follows; For the objectives of the curriculum, it was found that the first objective which aims to equip graduates with four language skills was weighed with the highest average scores, and most ofthe subjects agreed on the objectives ofthe curiculum at a high level. For the structure of curriculum and educational equipment, it was found that the number of the total credits was weighed with the highest average scores, and most of the subjects agreed on the structure ofthe curriculum at a high level. However, it was also found that the issue of problems with the language laboratory was weighed with the highest average scores, and most of the subjects agreed on the problems in the use of facilities at a moderate level. For the curriculum management, it was found that the number ofthe courses opened according to the study plan, freedom of the students to express their ideas, and the emphasis on both theory and practice ofeach subject were weighed at the highest average scores. Most ofthe subjects agreed on the curriculum management at a high level. For the characteristics ofthe graduates, employers were satisfied with the graduates' ability in the use ofEnglish and Chinese and the graduates' morality at a high level. Recommendation from the open-ended questionnaires was that the instructional process should emphasize the practical use of four language skills, especially speaking. The practicum focusing on using Business English should be applied more. For the elective courses, Business English Translation should be added. The results ofthis study could be used as basic information to modifu the curriculum and facilities provided to the students in order to improve the quality ofthe curiculum. |
th |
dc.description.sponsorship |
การวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีการศึกษา 2552 |
th |
dc.language.iso |
th |
th |
dc.publisher |
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ |
th |
dc.subject |
การประเมินหลักสูตร |
th |
dc.subject |
Curriculum evaluation |
th |
dc.subject |
ภาษาอังกฤษ -- การศึกษาและการสอน (อุดมศึกษา) |
th |
dc.subject |
English language -- Study and teaching (Higher) |
th |
dc.subject |
ภาษาอังกฤษ -- หลักสูตร |
th |
dc.subject |
English language -- Curricula |
th |
dc.title |
การประเมินหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาเอกภาษาอังกฤษ-ภาษาจีน (หลักสูตรนานาชาติ) หลักสูตรใหม่ พุทธศักราช 2549 สาขาวิชาภาษาอังกฤษ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ |
th |
dc.title.alternative |
The Evaluation of English - Chiness Major Curriculum (Internation Program, Revised Editionm, Academic Year 2006) Bachelor's Degree Program Department of English, Faculty of Liberal Arts Huachiew Chalermprakiet University |
th |
dc.type |
Technical Report |
th |