DSpace Repository

跨境电商在泰国语言增值服务研究——以阿里巴巴速卖通平台为例

Show simple item record

dc.contributor.advisor 刘森
dc.contributor.author 李秀英
dc.date.accessioned 2023-10-04T04:26:46Z
dc.date.available 2023-10-04T04:26:46Z
dc.date.issued 2023
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1420
dc.description Thesis (M.A.) (Chinese for Business Communication) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2023 th
dc.description.abstract การเติบโตของยุคโลกาภิวัตน์ที่เพิ่มขึ้นนั้นผลักดันให้บริษัทอีคอมเมิร์ซขยายกิจการออกไปนอกพรมแดนมากขึ้นโดยจำนวนการจำหน่ายสินค้าและให้บริการไปยังแต่ละประเทศและชุมชนต่าง ๆ ทั่วโลกเพิ่มมากขึ้น. ซึ่งในปี 2564 มีผู้บริโภคมากกว่า 900 ล้านคนหรือจำนวน 45% คือผู้บริโภคผ่านทางเว็บไซต์ออนไลน์ (อ้างอิงขัอมูลจาก Oberlo) ในความเป็นจริง, ผู้บริโภคทางออนไลน์กล่าวว่าพวกเขาไว้ใจกับการใช้งานเว็บไซต์ในรูปแบบภาษาของตนเองมากขึ้น ความสามารถในการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพของแบรนด์กับผู้ใช้งานทั่วโลกนั้นสัมพันธ์กับความสามารถในการทำกำไรตลาดใหม่เป็นอย่างมาก ความสามารถในการให้บริการแปลภาษาเป็นรูปธรรมที่จะสะท้อนให้เห็นถึงความสามารถในการทำกำไรในตลาดใหม่อย่างแท้จริง. การใช้งานอีคอมเมิร์ซผ่านบริการแปลภาษาจะลดอุปสรรคทางด้านภาษาและวัฒนธรรมทำให้ผู้บริโภครู้สึกสะดวกและเต็มใจที่จะซื้อสินค้าและใช้บริการบนแพลตฟอร์มอีคอมเมิร์ซมากขึ้น บทความนี้จะใช้วิธีการวิจัยเชิงวรรณกรรมและการสำรวจแบบสอบถามเพื่อสำรวจสถานการณ์การบริโภคของผู้บริโภคชาวไทยบนแพลตฟอร์มอาลีเอ็กซ์เพลสของอาลีบาบาและวิเคราะห์ความต้องการให้บริการภาษาของผู้บริโภคชาวไทยในกระบวนการซื้อสินค้าออนไลน์บนแพลตฟอร์มอีคอมเมิร์ซและประเมินบริการเสริมด้านภาษาของแพลตฟอร์มอาลีเอ็กซ์เพลส โดยวิทยานิพนธ์ประกอบด้วย 6 บทต่อไปนี้: บทที่หนึ่ง คือ การแนะนำวิทยานิพนธ์ โดยแนะนำการพัฒนาอีคอมเมิร์ซและความสำคัญของบริการทางภาษาในกระบวนการพัฒนาอีคอมเมิร์ซและทบทวนการพัฒนาของอีคอมเมิร์ซในประเทศไทยรวมถึงการวิจัยที่มีอยู่แล้วของการให้บริการแปลภาษาของอีคอมเมิร์ซ. บทที่สอง คือ อธิบายทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการทางภาษาของอีคอมเมิร์ซอย่างละเอียด โดยจะมุ่งเน้นที่การเพิ่มความหมายแฝงของภาษาให้กับอีคอมเมิร์ซ, ความจำเป็นของบริการทางภาษาของอีคอมเมิร์ซ, รูปแบบการสร้างบริการทางภาษาและโหมดการให้บริการทางภาษาของอีคอมเมิร์ซ. บทที่สาม คือ การสำรวจการให้บริการทางภาษาของอาลีบาบาในสถานการณ์ปัจจุบัน โดยมีบริโภคชาวไทยเข้าร่วมตอบแบบสอบถามจำนวน 250 คน เพื่อทำความเข้าใจความต้องการของผู้บริโภคสำหรับบริการเสริมด้านภาษาบนแพลตฟอร์มอีคอมเมิร์ซตลอดจนการประเมินผลบริการเสริมด้านภาษาบนแพลตฟอร์มอาลีเอ็กซ์เพลสและวิเคราะห์ความแตกต่างในแต่ละปัจจัยของความต้องการบริการด้านภาษาของผู้บริโภค. บทที่สี่ คือ การวิเคราะห์ปัญหาบริการเสริมด้านภาษาของอาลีเอ็กซ์เพลสจากผลการสำรวจผ่านแบบสอบถามปัญหาหลักของแพลตฟอร์มอาลีเอ็กซ์เพลสในการให้บริการเสริมด้านภาษาในประเทศไทยแบ่งออกเป็น 3 มุมมอง คือ บริการแปลภาษา, บริการแปลภาษาท้องถิ่น และรูปแบบบริการแปลภาษา บทที่ห้า คือ กลยุทธ์การเพิ่มประสิทธิภาพบริการเสริมด้านภาษาของอาลีบาบาในประเทศไทยจากปัญหาข้างต้นและข้อเสนอแนะที่สอดคล้องกันจะถูกนำมาใช้เพื่อปรับปรุงและส่งเสริมพัฒนาคุณภาพบริการด้านภาษาของแพลตฟอร์มอาลีบาบาในประเทศไทย th
dc.description.abstract The rising tide of globalization is driving e-commerce companies to expand beyond their borders, providing goods and services to a growing number of countries and communities around the world. In 2021, more than 900 million consumers -- 45% of all online shoppers -- will purchase products online. In fact, online consumers say they are more comfortable with websites in their own language. A brand's ability to communicate effectively with a global audience is closely linked to its profitability in new markets. The ability of language translation service is the embodiment of the ability to communicate with the audience and the profitability of the market. Cross-border e-commerce reduces language and cultural barriers through language translation services, so that consumers on cross-border e-commerce platforms feel more comfortable and comfortable, and are more willing to buy products on the platforms. Based on this, this paper will use the methods of literature research and questionnaire survey to explore the consumption situation of Thai consumers on Ali Express platform of Alibaba, and further analyze the language service demand of Thai consumers in the process of cross-border e-commerce platform shopping and the evaluation on the language value-added services of Ali Express platform. Specifically, the thesis includes the following six chapters: The first chapter is the introduction of the thesis. First of all, this paper introduces the development of cross-border e-commerce and the importance of language services in the process of cross-border e-commerce development, and reviews the development of cross-border e-commerce in Thailand and the existing research on cross-border e-commerce language services. The second chapter elaborates the relevant theories of cross-border e-commerce language services. It focuses on the introduction of cross-border e-commerce language to service connotation, the necessity of cross-border e-commerce language value-added services, cross-border e-commerce language service construction mode and language service supply mode. The third chapter investigates the status quo of Alibaba's value-added services in Thailand. A questionnaire survey was conducted among 250 Thai consumers to understand consumers' demand for language value-added services on cross-border e-commerce platforms and their evaluation of Ali-Express platform language value-added services, and to analyze the differences in individual factors of consumers' demand for language services and evaluation. The fourth chapter analyzes the problems existing in Ali Express language value-added services in Thailand. According to the results of the questionnaire survey, the paper puts forward the main problems existing in the value-added service of Ali-Express platform in Thailand from three perspectives: language translation service, language service localization and language service model. The fifth chapter is the optimization strategy of Ali-baba's value-added service in Thai language. According to the above problems, corresponding countermeasures and suggestions are put forward to improve the quality of Alibaba Ali-Express's language value-added services in Thailand and promote its development in Thailand. th
dc.description.abstract 日益高涨的全球化浪潮驱使电商企业向其边界以外扩展,向世界各地越来越多的国家和社区提供商品和服务。2021年,全球将有超过9亿消费者——占所有在线购物者的45%通过网络购买产品(Oberlo数据)。事实上,在线消费者表示他们对使用自己语言的网站更放心。一个品牌与全球受众有效沟通的能力,与它在新市场上的盈利能力密切相关。语言翻译服务能力正是与受众沟通能力和市场盈利能力的具体体现。跨境电商通过语言翻译服务减少语言和文化上的障碍,使跨境电商平台上的消费者感到更自在和舒适,更乐意购买平台上的商品。基于此,本文将运用文献研究、问卷调查的方法,探究泰国消费者在阿里巴巴速卖通平台的消费情况,并进一步分析泰国消费者在跨境电商平台购物过程中的语言服务需求以及对速卖通平台语言增值服务的评价。具体来看论文包括以下六章内容:第一章是论文的绪论部分。首先介绍了跨境电子商务发展的情况以及语言服务在跨境电商发展过程中的重要性,并对泰国跨境电商发展以及跨境电商语言服务的已有研究进行梳理。第二章阐述了跨境电子商务语言服务相关理论。重点介绍了跨境电商语言增至服务内涵、跨境电商语言增值服务的必要性、跨境电商语言服务建设模式和语言服务供给模式。第三章对阿里巴巴在泰国语言增值服务现状展开调查。对250名泰国消费者进行问卷调查,了解消费者对跨境电商平台语言增值服务需求情况,以及对速卖通平台语言增值服务的评价,并分析消费者语言服务需求和评价的个体因素差异。第四章分析了阿里巴巴速卖通在泰国语言增值服务存在问题分析。根据问卷调查的结果,分别从语言翻译服务、语言服务本土化、语言服务模式三个角度提出速卖通平台在泰国语言增值服务存在的主要问题。第五章是阿里巴巴在泰国语言增值服务的优化对策。根据上述问题,提出相对应的对策建议,提升阿里巴巴速卖通平台在泰国的语言增值服务质量 ,推动其在泰国的发展。 th
dc.language.iso zh th
dc.publisher Huachiew Chalermprakiet University th
dc.subject การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ th
dc.subject Electronic commerce th
dc.subject อาลีบาบา (ธุรกิจ) th
dc.subject Alibaba (Business) th
dc.subject บริการแปล th
dc.subject Translating services th
dc.subject 电子商务 th
dc.subject ภาษาจีน -- การแปลเป็นภาษาไทย
dc.subject 汉语 -- 泰语翻译
dc.subject Chinese language -- Translating into Thai
dc.subject ภาษาจีนธุรกิจ
dc.subject Chinese language -- Business Chinese.
dc.subject 商务汉语
dc.subject 阿里巴巴(商业)
dc.subject 翻译服务
dc.title 跨境电商在泰国语言增值服务研究——以阿里巴巴速卖通平台为例 th
dc.title.alternative Research on Value-Added Services of Cross-Border E-commerce in Thai Language -- Take Alibaba's Aliexpress Platform, for Example. th
dc.title.alternative การศึกษาเกี่ยวกับการให้บริการทางภาษาของอีคอมเมิร์ซในประเทศไทย -- ตัวอย่างจากอาลีบาบา th
dc.type Thesis th
dc.degree.name ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต th
dc.degree.level ปริญญาโท th
dc.degree.discipline ภาษาจีนเพื่อการสื่อสารเชิงธุรกิจ th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account