dc.contributor.author |
จรรยา ยอดนิล |
|
dc.contributor.author |
ลาวรรณ์ อนันต์ชลาลัย |
|
dc.contributor.author |
สุวรรณา อินคล้าย |
|
dc.contributor.author |
รุจิรัตน์ พัฒนะศรี |
|
dc.contributor.author |
ชลิตพันธ์ บุญมีสุวรรณ |
|
dc.contributor.author |
Janya Yodnil |
|
dc.contributor.author |
Lawan Ananchalalai |
|
dc.contributor.author |
Suwanna Inklay |
|
dc.contributor.author |
Ruchirat Patanasri |
|
dc.contributor.author |
Chalitpun Boonmeesuwan |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration |
th |
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration; |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration; |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration; |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration |
|
dc.date.accessioned |
2024-02-10T05:16:06Z |
|
dc.date.available |
2024-02-10T05:16:06Z |
|
dc.date.issued |
2017 |
|
dc.identifier.uri |
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1695 |
|
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินหลักสูตรบัญชีบัณฑิต หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555 ของมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ประกอบด้วยอาจารย์ประจำหลักสูตร 5 คน นักศึกษา 84 คน บัณฑิต 86 คน และผู้บังคับบัญชาบัณฑิต 31 คน รวม 206 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้วิธีการทางสถิติโดยการคำนวณคะแนนเฉลี่ย (x̄) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (SD.) โดยประยุกต์ใช้รูปแบบการประเมินซิปป์ (CIPP Model) ของสตัฟเฟิลบีม สรุปผลการประเมินได้ดังนี้การประเมินด้านบริบท (Context Evaluation)วัตถุประสงค์หลักสูตร อาจารย์มีความเห็นว่าในภาพรวมวัตถุประสงค์ของหลักสูตรมีความเหมาะสมปานกลางโครงสร้างและเนื้อหาหลักสูตร อาจารย์มีความเห็นว่า ในภาพรวมโครงสร้างและรายวิชาในหลักสูตร มีความเหมาะสมปานกลาง ในขณะที่นักศึกษาและบัณฑิตเห็นว่ามีความเหมาะสมมากการประเมินด้านปัจจัยนำเข้า (Input Evaluation)ผู้เรียน นักศึกษาส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีภูมิลำเนา จังหวัดสมุทรปราการ จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ทั้งนี้ ในภาพรวมอาจารย์มีความคิดเห็นต่อคุณลักษณะของนักศึกษาว่ามีคุณลักษณะเหมาะสมปานกลางผู้สอน มีอาจารย์ประจำหลักสูตร 5 คน ส่วนใหญ่เพศหญิง ซึ่งอาจารย์ทุกคนคุณวุฒิระดับปริญญาโท และมีประสบการณ์การสอนมากกว่า 10 ปี โดยมีตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ 1 คน ทั้งนี้ บัณฑิตมีความเห็นว่าในภาพรวมอาจารย์มีคุณลักษณะเหมาะสมมาก แตกต่างกับอาจารย์ประจำหลักสูตรมีความเห็นต่อคุณลักษณะของอาจารย์ผู้สอนในภาพรวมเหมาะสมปานกลางเท่านั้นปัจจัยสนับสนุนการเรียนการสอน การจัดการเรียนการสอนโดยภาพรวมอาจารย์เห็นว่ามีความเหมาะสมปานกลางอาคารสถานที่และห้องเรียน อาจารย์มีความเห็นว่า โดยรวมมีความเหมาะสมปานกลาง บัณฑิตมีความเห็นว่าเหมาะสมมาก ในขณะที่นักศึกษามีความเห็นว่าเหมาะสมปานกลางบริการห้องสมุดและระบบอินเทอร์เน็ต โดยภาพรวมบัณฑิตมีความเห็นว่าห้องสมุดและระบบอินเทอร์เน็ตมีความเหมาะสมในระดับมาก ส่วนนักศึกษามีความเห็นว่า โดยรวมมีความเหมาะสมปานกลางเท่านั้นการประเมินด้านกระบวนการ (Process Evaluation)กิจกรรมการเรียนการสอน อาจารย์มีความเห็นต่อพฤติกรรมการสอนของอาจารย์ พบว่า โดยรวมมีความเหมาะสมปานกลางการจัดการเรียนการสอน นักศึกษามีความเห็นว่าโดยรวมมีความเหมาะสมมากการให้คำปรึกษา บัณฑิตและนักศึกษามีความคิดเห็นต่อการทำหน้าที่ของอาจารย์ที่ปรึกษา พบว่า โดยภาพรวมมีความเหมาะสมมากการบริหารหลักสูตร อาจารย์มีความคิดเห็นว่า โดยรวมมีความเหมาะสมปานกลางการประเมินด้านผลผลิตของหลักสูตร (Product Evaluation)คุณภาพบัณฑิต บัณฑิตมีความคิดเห็นต่อความสามารถในการปฏิบัติงานของตนเองในด้านความรู้เชิงทฤษฎีและทักษะการปฏิบัติงาน โดยรวมมีความเหมาะสมมาก ส่วนผู้บังคับบัญชา มีความคิดเห็นต่อความรู้ความสามารถตามหลักวิชาชีพของบัณฑิต และด้านคุณลักษณะอื่นๆ ที่เสริมการปฏิบัติงานของบัณฑิต โดยรวมมีความเหมาะสมมากทั้งนี้ นักศึกษา บัณฑิต และผู้บังคับบัญชา มีข้อเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงหลักสูตร ในด้านภาษาต่างประเทศ ภาษาอังกฤษ คำศัพท์พื้นฐานทางบัญชี ความสามารถทางคอมพิวเตอร์ และการเรียนรู้ในงานด้านบัญชีทุกระบบจะทำให้สามารถพัฒนาระบบงานบัญชี ส่วนอาจารย์มีข้อเสนอแนะ เรื่องจำนวนนักศึกษาในห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ต่ออาจารย์ และควรปรับวิธีการจัดการเรียนการสอน รายวิชาต่างๆ ให้สามารถประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานได้ |
th |
dc.description.abstract |
The purpose of this study was to evaluate Huachiew Chalermprakiet University's Bachelor of Accountancy Program (revised 2012). The samples were 5 faculty members, 84 students, 86 graduates and 31 employers of graduates. The instrument used five-level rating scale questionnaire. The data were analyzed by using mean and standard deviation and the CIPP Model was applied.The results of the evaluation of appropriabilities were as followedThe Context Evaluation was found that:1. The purpose of the curriculum was rated by faculty members at moderate level.2. The stucture and content of the curriculum was rated by faculty members at moderate level, the students and graduated were rated at high level.Input Evaluation was found that:1. The most of students were female, the hometown was Samutprakarn province and graduate mattayomsuksa 6. The faculty members were rated the student qualification at the moderate level.2. The most of faculty members were female, hold master degress, had teaching experience more than 10 years, and one of them was an assistant professor. The graduates were rates the faculty qualification at high level different from faculty members that rated at moderate level.3. The instructional support factor was rated by faculty members at moderate level as a whole. The education buildinng and classroom were rated by faculty members and students at moderate level but the graduates were rated at high level. The library services and internet system were rated by the graduated at high level but the students were rated at moderate level.Process Evaluation were found that:1. The instuctional activities as a whole were rated by faculty members at moderate level but the students rated at high level.2. The suggestion by advisers was rated by graduates and students at high level.3. The curriculum management was rated by faculty members at moderate level.Product Evaluation was found that:1. The quality of graaduates towards the abilities of working in theoretical knowledge and skills of working were rates at high level.2. The employers of graduates were rated among the professional abilities and knowledge and others needed qualifications to work at high level.The students, graduates and employees gave the suggestions to services the curriculum about the foreign languages, vocabularies in accounting, computer abilities and knowing in all accounting system.The faculty members suggested about the number of students in computer laboratory and suggested to improve the instructional activities of each subject to be applied for working. |
th |
dc.description.sponsorship |
การวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนจากมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีการศึกษา 2558 |
th |
dc.language.iso |
th |
th |
dc.publisher |
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ |
th |
dc.subject |
การประเมินหลักสูตร |
th |
dc.subject |
Curriculum evaluation |
th |
dc.subject |
การบัญชี -- หลักสูตร |
th |
dc.subject |
Accounting -- Curricula |
th |
dc.subject |
การบัญชี -- การศึกษาและการสอน |
th |
dc.subject |
Accounting -- Study and teaching |
th |
dc.title |
การประเมินหลักสูตรบัญชีบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555) คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ |
th |
dc.title.alternative |
Evaluation of the Bachelor Degree in Accounting Program (Revised 2012) Business Administration Falculty Huachiew Chalermprakiet University |
th |
dc.type |
Technical Report |
th |