dc.contributor.author |
ปิยาภรณ์ สุภัคดำรงกุล |
|
dc.contributor.author |
จำรูญศรี พุ่มเทียน |
|
dc.contributor.author |
วรพรรณี เผ่าทองศุข |
|
dc.contributor.author |
สุภาภรณ์ วรรณภิญโญชีพ |
|
dc.contributor.author |
สุรีย์พร เอี่ยมศรี |
|
dc.contributor.author |
สุพิชชา วัฒนะประเสริฐ |
|
dc.contributor.author |
นพมาศ อัตรจันทโชติ |
|
dc.contributor.author |
อุมา รัตนเทพี |
|
dc.contributor.author |
ศรมน สุทิน |
|
dc.contributor.author |
วิภาวรรณ ชนะภักดิ์ |
|
dc.contributor.author |
Piyaporn Supakdamrongkul |
|
dc.contributor.author |
Jamroonsri Poomtien |
|
dc.contributor.author |
Worrapannee Powtongsook |
|
dc.contributor.author |
Supaporn Wannapinyosheep |
|
dc.contributor.author |
Sureeporn Aeamsri |
|
dc.contributor.author |
Supichar Wattanaprasert |
|
dc.contributor.author |
Noppamas Akarachantachote |
|
dc.contributor.author |
Uma Rattanathepee |
|
dc.contributor.author |
Soramon Sutin |
|
dc.contributor.author |
Wipapan Chanapag |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology |
th |
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology |
|
dc.date.accessioned |
2024-02-10T06:56:00Z |
|
dc.date.available |
2024-02-10T06:56:00Z |
|
dc.date.issued |
2018 |
|
dc.identifier.uri |
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1698 |
|
dc.description.abstract |
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจุลชีววิทยาอุตสาหกรรมหลักสูตรปรับปรุง พุทธศักราช 2556 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ โดยทำการประเมินตามแบบจำลอง CIPP ของ Daniel L. Stufflebeam เพื่อประเมินความเหมาะสมและคุณภาพของหลักสูตรใน 4 ด้าน ได้แก่ ด้านบริบท (context) ด้านปัจจัยเบื้องต้น (input) ด้านกระบวนการบริหารจัดการหลักสูตร (process) และด้านผลผลิต (product) โดยเก็บรวบรวมข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพจากการสำรวจความคิดเห็นของนักศึกษา จำนวน 83 คน อาจารย์ จำนวน 20 คน บัณฑิต จำนวน 39 คน ผู้บังคับบัญชา/ผู้ใช้บัณฑิตจำนวน 11 คน และผู้เชี่ยวชาญ/ผู้ทรงคุณวุฒิด้านหลักสูตร จำนวน 7 คน ที่มีต่อองค์ประกอบต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตร ผลการวิจัย ดังนี้ด้านบริบทของหลักสูตร ได้แก่ ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับวัตถุประสงค์ของหลักสูตร โครงสร้างของหลักสูตร และเนื้อหารายวิชาต่างๆ ของหลักสูตร มีค่าเฉลี่ยคะแนนความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามอยู่ในระดับเห็นด้วยมาก โดยมีคะแนนเฉลี่ยรวม 4.17 ทั้งนี้มีข้อเสนอแนะเพิ่มเติมในด้านการปรับเปลี่ยนโครงสร้างรายวิชาให้มีความทันสมัยตรงกับความต้องการของตลาดแรงงานในอนาคตมากยิ่งขึ้น ได้แก่ การควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์ ระบบประกันคุณภาพ และมาตรฐานความปลอดภัยในการผลิตผลิตภัณฑ์ของโรงงานอุตสาหกรรมตามมาตรฐานสากล มาตรฐานความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา แนวคิดการเป็นผู้ประกอบการในการสร้างผลิตภัณฑ์จากจุลินทรีย์ การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์หรือดิจิทัลเทคโนโลยี และการเสริมสร้างจุดเด่นของหลักสูตรด้านปัจจัยเบื้องต้น ได้แก่ ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับคุณวุฒิ/คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา คุณวุฒิ/คุณสมบัติของอาจารย์ และปัจจัยต่างๆ ที่เอื้อต่อการจัดการเรียนการสอน มีความคิดเห็นอยู่ในระดับเห็นด้วยมาก โดยมีค่าเฉลี่ยรวม 4.42 ทั้งนี้มีข้อเสนอแนะในด้านการปรับปรุงด้านเครื่องมือ-อุปกรณ์การเรียนการสอนให้ทันสมัยด้านกระบวนการบริหารจัดการหลักสูตร ได้แก่ ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนการสอน และการวัดและประเมินผล มีความคิดเห็นอยู่ในระดับเห็นด้วยมาก มีค่าเฉลี่ยรวม 4.40 ทั้งนี้มีข้อเสอนแนะเพิ่มเติมในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเสริมหลักสูตรโดยร่วมมือกับชุมชนหรือหน่วยงานภายนอกให้มากขึ้นด้านผลผลิต ซึ่่งประกอบด้วยการประเมินตนเองของนักศึกษาและบัณฑิต ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับด้านวิชาการและด้านความสามารถพื้นฐาน มีความคิดเห็นอยู่ในระดับเห็นด้วยมาก โดยมีค่าเฉลี่ยรวม 4.30 และการประเมินนักศึกษาและบัณฑิตจากอาจารย์ในหลักสูตรและผู้บังคับบัญชาของบัณฑิตในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับ 5 ด้าน ได้แก่ ด้านคุณธรรม จริยธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ และด้านการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ มีความคิดเห็นอยู่ในระดับเห็นด้วยมากมีค่าเฉลี่ยรวม 4.27 โดยมีข้อเสนอแนะเพิ่มเติมการพัฒนาทักษะทางปัญญาด้านการวางแผนปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ การคิดวิเคราะห์ ความสามารถในการสืบค้นข้อมูล และการพัฒนาทักษะเชิงปฏิบัติการทางวิชาชีพสรุปผลประเมินหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจุลชีววิทยาอุตสาหกรรม หลักสูตรปรับปรุง พุทธศักราช 2556 ในภาพรวมของหลักสูตรมีความเหมาะสมและมีคุณภาพดี เป็นไปตามวัตถุประสงค์ มีการดำเนินการที่เป็นมาตรฐาน และสอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน บัณฑิตของหลักสูตรสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้งานให้เกิดประโยชน์ต่อองค์กรได้ ซึ่งผลการวิจัยสามารถนำไปเป็นแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรต่อไป |
th |
dc.description.abstract |
The objective of this research is to evaluate the Industry Microbiology Curriculum (Revision, 2013) of Science and Technology Faculty, Huachiew Chalermprakiet University. Daniel L. Stufflebeam's CIPP model is applied to assess the appropriateness and quality of the curriculum in four areas: (1) context, (2) input, (3) process, (4) and product by collecting both quantitative and qualitative data from 83 students, 20 teachers, 39 graduates, 11 employers, and 7 curriculum experts on various elements associated with the curriculum. The results of this study research consist of four parts as follows. First, the satisfaction of the context of the curriculum including issues related to the objectives of the course and curriculum is high with an average of 4.17. Moreover, suggestions were given by the respondents which include constantly updating course structure of the subjects to reflcet innovativeness and modernity and be responsive to the labor market's future needs included providing quality control of product, system of quality assurance and safety standards for the manufacture of industrial products according to international standards, microbiological laboratory safety standards, the concept of entrepreneurship in the creation of microbial products, developing English skill, using computer program or digital technology and strengthening the curriculum. Second, the satisfaction of the input such as the qualifications or requirements of both students and teachers plus supportive factors of learning and teaching process is high with an average score of 4.42. Suggestions included improving more modern learning and teaching material.Third, the satisfaction of the process related to learning and teaching management plus measurement and evaluation process is high with an average score of 4.40. Suggestions included introducing more student activities in local community or in cooperation with other organizations.Fourth, the satisfaction or the product based on the self assessment of both students and graduates in terms of academis and fundamentak skills is high with an average score of 4.30. In addition, the evaluation of student learning outcomes on five domains, namely (1) morality and ethics, (2) knowledge, (3) cognitive skill, (4) human relations skill and responsibility, and (5) numerical analysis, communication and information technology skills, yields a high average score of 4.27. Suggestions included providing more developed cognitive skill in systematic planning, analytical thinking, ability to query and professional training skill.In summary, this industry Microbiology Curriculum (Revision, 2013) proves to be satisfactory in accordance with the objectives and the standards, and in consonance with the needs of the labor market. The graduates can be use knowledge to benefit the organization. The results of this research are the guideline for improvement and development of the curriculum in further. |
th |
dc.description.sponsorship |
การวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนจากมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีการศึกษา 2559 |
th |
dc.language.iso |
th |
th |
dc.publisher |
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ |
th |
dc.subject |
การประเมินหลักสูตร |
th |
dc.subject |
Curriculum evaluation |
th |
dc.subject |
จุลชีววิทยาอุตสาหการ -- หลักสูตร |
th |
dc.subject |
Industrial microbiology -- Curricula |
th |
dc.subject |
จุลชีววิทยาอุตสาหการ -- การศึกษาและการสอน |
th |
dc.subject |
Industrial microbiology -- Study and teaching |
th |
dc.title |
การประเมินหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจุลชีววิทยาอุตสาหกรรม หลักสูตรปรับปรุง พุทธศักราช 2556 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ |
th |
dc.title.alternative |
Evaluation of Industrial Microbiology Curriculum Bachelor's Degree Program, Revised Edition 2013, Science and Technology Faculty Huachiew Chalermprakiet University |
th |
dc.type |
Technical Report |
th |