dc.contributor.author |
สุวรรณา เมธีภัทรางกูล |
|
dc.contributor.author |
วรนุช ปลีหจินดา |
|
dc.contributor.author |
ยุวธิดา ชิวปรีชา |
|
dc.contributor.author |
นฤดี บูรณะจรรยากุล |
|
dc.contributor.author |
เปรมรัตน์ พูลสวัสดิ์ |
|
dc.contributor.author |
สุปัญญา อภิวงศ์โสภณ |
|
dc.contributor.author |
สุธีรา พึ่งสวัสดิ์ |
|
dc.contributor.author |
พงศกร บำรุงไทย |
|
dc.contributor.author |
จริยา ประณิธาน |
|
dc.contributor.author |
Suwanna Metheepattarakul |
|
dc.contributor.author |
Woranuch Pleehachinda |
|
dc.contributor.author |
Yuwathida Chiwpreechar |
|
dc.contributor.author |
Naruedee Buranajanyakul |
|
dc.contributor.author |
Premrat Poolsawad |
|
dc.contributor.author |
Supanya Aphiwongsophon |
|
dc.contributor.author |
Suteera Puengsawad |
|
dc.contributor.author |
Pongsakon Bamrungthai |
|
dc.contributor.author |
Jariya Pranithan |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology |
th |
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology |
|
dc.date.accessioned |
2024-02-16T15:08:20Z |
|
dc.date.available |
2024-02-16T15:08:20Z |
|
dc.date.issued |
2015 |
|
dc.identifier.uri |
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/1702 |
|
dc.description.abstract |
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ หลักสูตรปรับปรุง พุทธศักราช 2553 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ โดยทำการประเมินตามแบบจำลอง CIPP ของ Daniel L. Stufflebeam เพื่อประเมินความเหมาะสมและคุณภาพของหลักสูตรใน 4 ด้าน ได้แก่ ด้านบริบท (Context) ด้านปัจจัยเบื้องต้น (Input) ด้านกระบวนการบริหารจัดการหลักสูตร (Process) และด้านผลผลิต (Product) โดยเก็บรวบรวมข้อมูลทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพจากการสำรวจความคิดเห็นของนักศึกษา อาจารย์ บัณฑิต ผู้บังคับบัญชา/ผู้ใช้บัณฑิต และผู้เชี่ยวชาญ/ผู้ทรงคุณวุฒิ ด้านหลักสูตร ที่มีต่อองค์ประกอบต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตร ผลการวิจัยดังนี้ด้านบริบทของหลักสูตร ได้แก่ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับวัตถุประสงค์ของหลักสูตร โครงสร้างของหลักสูตรและเนื้อหารายวิชาต่างๆ ของหลักสูตร มีค่าเฉลี่ยคะแนนความคิดเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามอยู่ในระดับเห็นด้วยมาก โดยมีคะแนนเฉลี่ยรวม 4.33ด้านปัจจัยเบื้องต้น ได้แก่ ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับคุณวุฒิ/คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา คุณวุฒิ/คุณสมบัติของอาจารย์ และปัจจัยต่างๆ ที่เอื้อต่อการจัดการเรียนการสอน มีความคิดเห็นอยู่ในระดับเห็นด้วยมาก โดยมีค่าเฉลี่ยรวม 4.20ด้านกระบวนการบริหารจัดการหลักสูตร ได้แก่ ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับ การจัดการเรียนการสอน และการวัดและประเมินผล มีความคิดเห็นอยู่ในระดับเห็นด้วยมาก มีค่าเฉลี่ยรวม 4.23ด้านผลผลิต ซึ่งประกอบด้วยการประเมินตนเองของนักศึกษาและบัณฑิต ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับด้านวิชาการ และด้านความสามารถพื้นฐาน มีความคิดเห็นอยู่ในระดับเห็นด้วยมาก โดยมีค่าเฉลี่ยรวม 3.95 และการประเมินนักศึกษาและบัณฑิต จากอาจารย์ในหลักสูตรและผู้บังคับบัญชาของบัณฑิต ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับ 5 ด้าน ได้แก่ ด้านคุณธรรม จริยธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ และด้านการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ มีความคิดเห็นอยู่ในระดับเห็นด้วยมาก มีค่าเฉลี่ยรวม 4.27ในภาพรวมของหลักสูตร มีความเหมาะสมและมีคุณภาพดี เป็นไปตามวัตถุประสงค์ มีการดำเนินการที่เป็นมาตรฐาน และสอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน บัณฑิตของหลักสูตรสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปใช้งานให้เกิดประโยชน์ต่อองค์กรได้ข้อเสนอแนะที่ได้รับจากผู้ตอบแบบสอบถาม ในด้านการปรับเปลี่ยนโครงสร้างรายวิชาให้มีความทันสมัยตรงกับความต้องการของตลาดแรงงานในอนาคตมากยิ่งขึ้น การเปิดฐานกลุ่มผู้เรียนให้กว้างขึ้นโดยการเปิดรับนักศึกษาที่จบสายวิชาชีพหรือจบแผนการศึกษาอื่นๆ นอกเหนือจากสายวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ การปรับปรุงด้านอุปกรณ์การเรียนการสอนให้ทันสมัย และการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเสริมหลักสูตรโดยร่วมมือกับหน่วยงานภายนอกให้มากขึ้น ซึ่งผลการวิจัยสามารถนำไปเป็นแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรต่อไป |
th |
dc.description.abstract |
The objective of this research is to evaluate the Computer Science Curriculum (Revision, 2010) of Science and Technology Faculty, Huachiew Chalermprakiet University. Daniel L. Stufflebeam' CIPP model is applied to assess the appropriateness and quality of the curriculum in four areas: (1) context, (2) input, (3) process, (4) and product by collecting both quantitative and qualitative data from students, teachers, graduates, employers, and curriculum experts on various elements associated with the curriculum.The results of this survey research consist of four parts as follows. First, the satisfaction of the context of the curriculum including issues related to the objectives of the course and curriculum is high with an aversge score of 4.33. Second, the satisfaction of the input such as the qualifications or requirements of both students and teachers plus supportive factors of learning and teaching process is high with an average score of 4.20. Third, the satisfaction of the process related to learning and teaching management plus measuremet and evaluation process is high with an average score of 4.23, Fourth, the satisfaction of the product based on the self assessment of both students and graduates in teams of academic and fundamental skills is high with an average score of 3.95. In addition, the evaluation of student learning outcomes on five domains, namely (1) morality and ethics, (2) knowledge, (3) cognitive skill, (4) human relations skill and responsibility, and (5) numerical analysis, communication and information technology skills, yields a high average score of 4.27.In summary, this Computer Science Curriculum proves to be satisfactory in labor market. Moreover, suggestions were given by the respondents which include: (1) constantly updating course structure of the subjects to reflect innovationness and modernity and be responsive to the labor market's future needs, (2) enhancing the diversity of students by admitting students from vocational or other educational programs rather than limiting enrollees to graduates of secondary education (science and mathematics education program), (3) improving learning and teaching material, plus introducing more student activities in cooperation with other organizations. |
th |
dc.description.sponsorship |
การวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนจากมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติปีการศึกษา 2556 |
th |
dc.language.iso |
th |
th |
dc.publisher |
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ |
th |
dc.subject |
วิทยาการคอมพิวเตอร์ -- หลักสูตร |
th |
dc.subject |
Computer science -- Curricula |
th |
dc.subject |
วิทยาการคอมพิวเตอร์ -- การศึกษาและการสอน |
th |
dc.subject |
Computer science -- Study and teaching |
th |
dc.subject |
การประเมินหลักสูตร |
th |
dc.subject |
Curriculum evaluation |
th |
dc.title |
การประเมินหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ หลักสูตรปรับปรุง พุทธศักราช 2553 คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ |
th |
dc.title.alternative |
The Evaluation of Computer Science Curriculum : Bachelor's Degree Programme, Revised Edition 2010, Science and Technology Faculty, Huachiew Chalermprakiet University |
th |
dc.type |
Technical Report |
th |