DSpace Repository

มวลชีวภาพและการกักเก็บคาร์บอนของพรรณไม้ในพื้นที่สนามกอล์ฟกรุงเทพมหานคร

Show simple item record

dc.contributor.author เทอดพงศ์ ศรีสุขพันธุ์
dc.contributor.author อาภาภรณ์ บุลสถาพร
dc.contributor.author สุขุมา ชานนท์
dc.contributor.author Thirdpong Srisukphun
dc.contributor.author Apaporn Bulsathaporn
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health en
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Public and Environmental Health en
dc.contributor.other Thep Thani Kritha Public Company Limited en
dc.date.accessioned 2024-06-05T12:09:44Z
dc.date.available 2024-06-05T12:09:44Z
dc.date.issued 2018
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2363
dc.description Proceedings of the 6th National and International Conference on "Research to Serve Society", 22nd June 2018 at Huachiew Chalermprakiet University, Bangphli District, Samutprakarn, Thailand. p. 757-766. en
dc.description.abstract งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลผลิตชีวภาพและปริมาณการกักเก็บคาร์บอนของพรรณไม้ และเพื่อเปรียบเทียบปริมาณการกักเก็บคาร์บอนในมวลชีวภาพของพรรณไม้ต่างชนิดในพื้นที่สนามกอล์ฟแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานคร การหามวลชีวภาพใช้วิธีการคำนวณด้วยสมการแอลโลเมตรี และสัดส่วนคาร์บอนในเนื้อไม้ใช้ค่าสัมประสิทธิ์ของ IPCC (2006) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ไม้ยืนต้นกลุ่มพรรณไม้ทั่วไป 358 ต้น (7 ชนิด 5 วงศ์) สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่ามัธยฐาน สถิติทดสอบครัสคับ-วอลลิส (Kruskal-Wallis test) ผลการศึกษาพบว่า ไม้ยืนต้นกลุ่มตัวอย่างมีปริมาณมวลชีวภาพเหนือพื้นดินเท่ากับ 107.6 ตัน มวลชีวภาพใต้ดินเท่ากับ 29.0 ตันและคาร์บอนในมวลชีวภาพเท่ากับ 64.2 ตันคาร์บอน ชนิดพรรณไม้ที่แตกต่างกัน ได้แก่ ชมพูพันธุ์ทิพย์ นนทรี หางนกยูงฝรั่ง คูน พญาสัตบรรณ มะฮอกกานี และลีลาวดี มีการกักเก็บคาร์บอนในมวลชีวภาพของพรรณไม้แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และนนทรีมีมวลชีวภาพและการกักเก็บคาร์บอนในมวลชีวภาพมากที่สุด en
dc.description.abstract The objectives of this research were to evaluate the amount of biomass and the carbon storages of trees and to compare amount of the carbon storage in biomass of different types of trees at a golf course in Bangkok, Thailand. Determining the amount of biomass used Allometry equations. Ratio of carbon in biomass used a coefficient value of IPCC (2006). The population samples were composes of 358 trees (7 species and 5 families). Statistics used were percentage, mean, median, and Kruskal-Wallis test. The results found that total aboveground and belowground biomass were 107.6 and 29.0 tons. Their carbon storage was 64.2 tons. There was a statistically significant difference of the carbon storage which classified by 7 species of tree including Tabebuia rosea, Peltophorum dasyrachis, Delonix regia, Cassia fistula, Alstonia scholaris, Swietenia macrophylla, and Plumeria alba (p<0.05). Pettophorum dasyrachis had the most amounts of biomass and its carbon storage in area. en
dc.language.iso th en
dc.rights มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ en
dc.subject ชีวมวล en
dc.subject Biomass en
dc.subject การกักเก็บคาร์บอน en
dc.subject Carbon sequestration en
dc.subject สนามกอล์ฟ en
dc.subject Golf courses en
dc.title มวลชีวภาพและการกักเก็บคาร์บอนของพรรณไม้ในพื้นที่สนามกอล์ฟกรุงเทพมหานคร en
dc.title.alternative Biomass and Carbon Storage of Trees at a Golf Course in Bangkok en
dc.type Proceeding Document en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account