dc.contributor.author |
บรรณสรณ์ เตชะจําเริญสุข |
|
dc.contributor.author |
ศรัณย์ กอสนาน |
|
dc.contributor.author |
Bunnasorn Techajumlernsuk |
|
dc.contributor.author |
Sarun Gorsanan |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Pharmaceutical Sciences |
en |
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Pharmaceutical Sciences |
en |
dc.date.accessioned |
2024-06-15T05:15:08Z |
|
dc.date.available |
2024-06-15T05:15:08Z |
|
dc.date.issued |
2018 |
|
dc.identifier.uri |
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2396 |
|
dc.description |
Proceedings of the 6th National and International Conference on "Research to Serve Society", 22nd June 2018 at Huachiew Chalermprakiet University, Bangphli District, Samutprakarn, Thailand. p. 639-648 |
en |
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลการเรียนรู้และความคิดเห็นของมาตรฐานร้านขายยาและข้อกำหนดและประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ข้อกำหนดและวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน ในสถานที่ขายยาแผนปัจจุบัน โดยใช้วิธีการจัดการเรียนรู้แบบใช้การแก้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-Based Learning) ในนักศึกษาเภสัชศาสตร์ชั้นปีที่ 4 เป็นการศึกษารูปแบบการเชิงทดลองเบื้องต้น แบบสอบถามประกอบด้วยความรู้ก่อนและหลังเรียนและแบบวัดความคิดเห็น ผลการศึกษาพบว่าค่าเฉลี่ยความรู้ความเข้าใจก่อนเรียนเท่ากับ 10.37 (+- 1.64) และหลังเรียนเท่ากับ 11.00 (+-1.41) จากคะแนนรวม 15 คะแนนความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p <0.001) ส่วนด้านความคิดเห็นของนักศึกษาในการนำข้อกำหนดดังกล่าวไปใช้นั้นมีความเห็นว่า ทุกข้อสามารถปฏิบัติตามได้มากถึงมากที่สุด การศึกษานี้จึงสรุปได้ว่าการเรียนรู้แบบ Problem-Based Learning ช่วยให้นักศึกษาเภสัชศาสตร์มีความรู้และมีความคิดเห็นที่ดีต่อมาตรฐานร้านยาและประกาศกฎกระทรวงดังกล่าว |
en |
dc.description.abstract |
The objectives of this study were to study learning outcomes and opinions of drug store standard and good pharmacy practices in community (Ministry of Public Health, Thailand) by using Problem-based learning model among the 4th year pharmacy students. This was a pre-experimental study. The questionnaire was composed of knowledge before and after attending class and attitude form. The results of this study found that mean of knowledge before class was 10.37 (+- 1.64) and after class was 11.00 (+-1.41) from total score of 15. The difference was statistically significant (p<0.001). The opinion on drug store standard and good pharmacy practice in community, overall, the students thought all items can be followed with ratings ranging from high to very high. We concluded that using Problem-based Learniing model could promote learning outcomes: Knowledges and opinion in drug store standard and good pharmacy practice in community (Ministry of Public Health, Thailand). |
en |
dc.language.iso |
th |
en |
dc.rights |
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ |
en |
dc.subject |
การเรียนที่ใช้ปัญหาเป็นฐาน |
en |
dc.subject |
Problem-based learning |
en |
dc.subject |
นักศึกษาเภสัชศาสตร์ |
en |
dc.subject |
Pharmacy students |
en |
dc.subject |
ร้านขายยา -- มาตรฐาน |
en |
dc.subject |
Drugstores -- Standards |
en |
dc.subject |
การบริบาลทางเภสัชกรรม |
en |
dc.subject |
Pharmaceutical services |
en |
dc.title |
ผลการเรียนรู้ของนักศึกษาเภสัชศาสตร์ในเรื่องมาตรฐานร้านขายยาคุณภาพและประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ข้อกำหนดและวิธีปฏิบัติทางเภสัชกรรมชุมชน ในสถานที่ขายยาแผนปัจจุบัน โดยใช้วิธีการจัดการเรียนรู้แบบใช้การแก้ปัญหาเป็นฐาน (Problem-based learning) |
en |
dc.title.alternative |
Learning Outcomes of Pharmacy Students in Accredited Pharmacy and Good Pharmacy Practices of Ministry of Public Health by Problem-Based Learning |
en |
dc.type |
Proceeding Document |
en |