dc.contributor.author |
นพนัฐ จำปาเทศ |
|
dc.contributor.author |
พรทิพย์ เจิง |
|
dc.contributor.author |
ปวีณา ชุมภู |
|
dc.contributor.author |
มารินา วิจิตรตระการสม |
|
dc.contributor.author |
วฤนดา กลั่นเจริญ |
|
dc.contributor.author |
พรสุดา พูลแย้ม |
|
dc.contributor.author |
ณัฐธิดา ใจปัญญา |
|
dc.contributor.author |
สุชัญญา สิมมาเทศ |
|
dc.contributor.author |
Nopphanath Chumpathat |
|
dc.contributor.author |
Pornthip Tseng |
|
dc.contributor.author |
Paweena Chumphu |
|
dc.contributor.author |
Marina Wichittrakarnsom |
|
dc.contributor.author |
Warunada Klancharoen |
|
dc.contributor.author |
Pornsuda Phoonyaem |
|
dc.contributor.author |
Nattida Jaipanya |
|
dc.contributor.author |
Suchanya Simmatest |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing |
en |
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing. Student of Bachelor of Nursing Science |
en |
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing. Student of Bachelor of Nursing Science |
en |
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing. Student of Bachelor of Nursing Science |
en |
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing. Student of Bachelor of Nursing Science |
en |
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing. Student of Bachelor of Nursing Science |
en |
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing. Student of Bachelor of Nursing Science |
en |
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing. Student of Bachelor of Nursing Science |
en |
dc.date.accessioned |
2024-06-29T14:22:22Z |
|
dc.date.available |
2024-06-29T14:22:22Z |
|
dc.date.issued |
2019 |
|
dc.identifier.uri |
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2417 |
|
dc.description |
Proceedings of the 7th National and International Conference on "Research to Serve Society", 12 July 2019 at Huachiew Chalermprakiet University, Bangphli District, Samutprakarn, Thailand. p. 1055-1064. |
en |
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้เป็นเป็นวิจัยเชิงปริมาณแบบภาคตัดขวาง มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาพฤติกรรมการดูแลตนเองเพื่อบรรเทาอาการเจ็บปวดประจำเดือนและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ในการเลือกใช้และไม่ใช้ยาบรรเทาอาการปวดประจำเดือนของนักศึกษาคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ เก็บข้อมูลในนักศึกษาพยาบาลจำนวน 537 คน โดยใช้แบบสอบถามออนไลน์ ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ 4 ท่าน ได้ค่า Index of item objective congruence ทุกข้ออยู่ระหว่าง 0.50-1.00 วิเคราะห์ข้อมูลด้วย ร้อยละ และสถิติไคสแคว์ (X2 test) ผลการวิจัย พบว่า ความชุกของการปวดประจำเดือนร้อยละ 80.63 พฤติกรรมการดูแลตนเองส่วนมากที่ใช้ คือ การนอนหลับพักผ่อนร้อยละ 38.76 อาการร่วมขณะมีประจำเดือนที่พบบ่อย คือ เป็นสิว ร้อยละ 20.95 ผลกระทบขณะมีประจำเดือนมากที่สุด คือ ไม่กระตือรือร้นต่อการร่วมกิจกรรม ร้อยละ 48.59 มีการใช้ยาบรรเทาอาการปวดประจำเดือน ร้อยละ 64.90 และความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเลือกใช้ยาและไม่ใช้ยาบรรเทาอาการปวดประจำเดือน พบว่า ปัจจัยด้านระดับชั้นปี ความสม่ำเสมอของการมีประจำเดือน และการรับรู้ระดับความเจ็บปวดประจำเดือนมีความสัมพันธ์กับการเลือกใช้ยาและไม่ใช้ยาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p = 0.002, 0.025, p < 0.001 ตามลำดับ)
สรุปผลการวิจัยและข้อเสนอแนะ ผลการศึกษาได้ข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการดูแลตนเองเพื่อบรรเทาอาการเจ็บปวดประจำเดือนและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ในการเลือกใช้ยาและไม่ใช้ยาบรรเทาอาการปวดประจำเดือน ซึ่งจะเป็นแนวทางในการจัดการอาการปวดประจำเดือนได้อย่างเหมาะสม |
en |
dc.description.abstract |
This research aimed to study self-care behaviors and factors related to medication use and non-medication use to decrease dysmenorrhea in nursing student, Huachiew Chalermprakiet University. The participants included 537 female nursing students using an analytical cross-sectional study. The online questionnaire used for data collection was verified for content validity by 4 experts. The lOC was between 0.50-1.00. Data were analyzed by percentage and X2 tests.
The result found prevalence rate of 80.63% of dysmenorrhea. The most self-care behaviors to decrease dysmenorrhea was sleeping and rests (38.76%). The most affects during dysmenorrhea was not to be able to actively doing activities (48.59%). More than 50% of participants use some kinds of medicine to decrease dysmenorrhea. Academic year, regularity of menstruation, and perception of pain level were significantly correlated with mecication/non-medicationuse to decrease dysmenorrhea (p = 0.002, 0.025, p < 0.001 respectively)
The research results showed self-care behaviors to decrease dysmenorrhea and factors related to drug use and non-druguse to decrease dysmenorrhea so that it can be used to manage dysmenorrhea appropriately. |
en |
dc.language.iso |
th |
en |
dc.rights |
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ |
en |
dc.subject |
ระดู |
en |
dc.subject |
ประจำเดือน |
en |
dc.subject |
Menstruation |
en |
dc.subject |
ปวดระดู |
en |
dc.subject |
การปวดประจำเดือน |
en |
dc.subject |
Dysmenorrhea |
en |
dc.subject |
การใช้ยา |
en |
dc.subject |
Drug utilization |
en |
dc.subject |
ยาแก้ปวด |
en |
dc.subject |
Analgesics |
en |
dc.subject |
การดูแลสุขภาพด้วยตนเอง |
en |
dc.subject |
Self-care, Health |
en |
dc.subject |
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะพยาบาลศาสตร์ – นักศึกษา |
en |
dc.subject |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Nursing -- Students |
en |
dc.subject |
นักศึกษาพยาบาล |
en |
dc.subject |
Nursing students |
en |
dc.title |
พฤติกรรมการดูแลตนเองและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการใช้ยาและไม่ใช้ยาบรรเทาอาการปวดประจำเดือนของนักศึกษาพยาบาล มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ |
en |
dc.title.alternative |
Self-care Behaviors and Factors Related to Medication use and Non-medication use to Decrease Dysmenorrhea in Nursing Students, Huachiew Chalermprakiet University |
en |
dc.type |
Proceeding Document |
en |