การศึกษาเชิงสำรวจประยุกต์แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพมาศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการป้องกัน ตนเองของพนักงานขนส่งอาหารของบริษัทแห่งหนึ่ง ด้วยรถจักรยานยนต์ในช่วงการระบาด โควิด-19 วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการป้องกันตนเอง ของพนักงานขนส่งอาหารด้วยรถจักรยานยนต์ในช่วงการ ระบาดของโควิด-19 จำนวน 171 คน เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามออนไลน์ ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยมีผลต่อ พฤติกรรมการป้องกันตนเอง ได้แก่ รายได้ (p-value < 0.001) ระดับการศึกษา (p-value = 0.001) สถานภาพ ครอบครัว ( p-value = 0.008) ปัจจัยด้านจิตสังคมในการทำงาน (p-value = 0.283) ปัจจัยด้านสุขภาพในการ ทำงาน (p-value < 0.001) ปัจจัยด้านการรับรู้ (p-value < 0.001) ปัจจัยด้านการกระตุ้นการปฏิบัติ (p-value < 0.001) ข้อเสนอแนะควรศึกษาในปัจจัยอื่น เช่น การรับรู้ภาวะคุกคามของโรค และศึกษาในกลุ่มอาชีพอื่นๆ
This survey research studied the factors affecting self-preventive behavior among motorcycle food delivery workers during the COVID-19 outbreak by applying the health belief model. The objectives was to study the relationship between self-preventive behavior and related factors including 1) personal factors 2) psychosocial factors 3) occupational health factors, 4) cognitive factors and 5) stimulation factor among 171 motorcycle food delivery workers during the COVID-19 pandemic. The results revealed that the factors associated to self-preventive behaviors are including incomes (p-value < 0.001), education level (p-value = 0.001), family status (p-value = 0.008), the psychosocial factors at work (p-value = 0.283), the functional health factors (p-value < 0.001), the cognitive factors (p-value < 0.001) stimulation factor (p-value < 0.001). The suggestions for further studies and other relevant factors such as knowledge in burden of disease should be determined and also studied in other occupations.