DSpace Repository

การปรับปรุงกระบวนการผลิตด้วยวิธีการผลิตที่ละหนึ่งชิ้น : กรณีศึกษา บริษัทสแตนเล่ย์ เวิร์ค จำกัด

Show simple item record

dc.contributor.advisor พิชิต สุขเจริญพงษ์
dc.contributor.advisor Pichit Sukchareonpong
dc.contributor.author จิรพงษ์ ศักยพันธ์
dc.contributor.author Jirapong Sakayaphan
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration
dc.date.accessioned 2024-08-13T13:26:21Z
dc.date.available 2024-08-13T13:26:21Z
dc.date.issued 2002
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2583
dc.description ภาคนิพนธ์ (บธ.ม.) (บริหารธุรกิจ) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2545. en
dc.description.abstract ภายใต้สภาพแวดล้อมทางธุรกิจในปัจจุบันที่สร้างข้อจำกัดให้กับธุรกิจโดยเฉพาะข้อจำกัดทางด้านเงินทุน ดังนั้นจำเป็นที่ธุรกิจจะต้องใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยเฉพาะในการใช้จ่ายเงินทุนเพื่อการดำเนินงานด้านการผลิต ระบบการผลิตแบบทันเวลา (Just In Time Manufacturing) เป็นเทคนิคการบริการการผลิตตามแบบญี่ปุ่นที่มุ่งเน้นที่จะพัฒนาคุณภาพโดยรวม และเพิ่มผลผลิตอย่างต่อเนื่องโดยพยายามขจัดความสูญเปล่าที่เกิดขึ้นให้หมดไป การนำระบบการผลิตแบบทันเวลา มาใช้จะสามารถปรับปรุงและเพิ่มประสิทธิภาพของการผลิตได้ และจะนำมาซึ่งการลดต้นทุนของการผลิต การพัฒนาคุณภาพของผลิตภัณฑ์ และการจัดส่งสินค้าได้ทันตามความต้องการ ระบบการผลิตในแบบ One Piece Flow เป็นเทคนิคการผลิตสมัยใหม่ที่ช่วยสนับสนุนระบบการผลิตแบบทันเวลาพอดีให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ แทนการผลิตขนาดใหญ่ที่มุ่งจะผลิตครั้งละมากๆ เพื่อหวังจะให้เกิดความประหยัดเนื่องจากขนาด โดยละเลยต่อคุณภาพและความต้องการของลูกค้าจากการศึกษาการพัฒนากระบวนการผลิตของผลิตภัณฑ์ระดับน้ำ โดยการนำระบบการผลิตแบบ One Piece Flow มาใช้ในการปรับปรุงสายการผลิต พบว่าประสิทธิภาพของสายการผลิตเพิ่มขึ้น 18.54% จากก่อนการปรับปรุงระบบประสิทธิภาพการทำงานมีค่าเท่ากับ 74.16% เวลาว่างงานในสายการผลิต มีค่าเท่ากับ 18.54% หลังจากการปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตเพิ่มขึ้นเป็น 92.70% เวลาว่างในสายการผลิตลดลง 18.54% ประสิทธิภาพการใช้วัตถุดิบเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ เห็นได้จากปริมาณของเสียเนื่องจากการผลิตลดลงอย่างเห็นได้ชัด โดยมูลค่าของเสียก่อนการปรับปรุงสายการผลิตในเดือนมกราคม มีค่าเท่ากับ 12.01% เดือนกุมภาพันธ์ 10.86% เดือนมีนาคม 10.86% เมษายน 10.73% ต่อมาในเดือนพฤษภาคม ซึ่งเป็นเดือนที่ได้ทำการปรับปรุงการผลิตของค่าของเสียก็เริ่มลดลงคือ มีค่าอยู่ที่ 6.45% และของเสียในเดือนมิถุนายน ลดลงมาอยู่ที่ 4.27% หลังจากเดือนมิถุนายน ถึง เดือนธันวาคม ค่าของเสียเฉลี่ยใกล้เคียงกับเดือนมิถุนายน en
dc.language.iso th en
dc.publisher มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ en
dc.rights มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ en
dc.subject ระบบการผลิตแบบทันเวลา en
dc.subject Just-in-time systems en
dc.subject การควบคุมการผลิต en
dc.subject Production control en
dc.subject การควบคุมความสูญเปล่า en
dc.subject Loss control en
dc.subject การบริหารงานแบบญี่ปุ่น en
dc.subject Management -- Japan en
dc.subject บริษัท สแตนเล่ย์ เวิร์ค จำกัด en
dc.subject Stanley Work Co., Ltd. en
dc.subject ระบบการผลิตแบบไหลทีละชิ้น en
dc.subject One-Piece Flow en
dc.title การปรับปรุงกระบวนการผลิตด้วยวิธีการผลิตที่ละหนึ่งชิ้น : กรณีศึกษา บริษัทสแตนเล่ย์ เวิร์ค จำกัด en
dc.title.alternative Process Improvement by One Piece Flow Technique : A Case Study of Stanley Work Co., Ltd. en
dc.type Independent Studies en
dc.degree.name บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต en
dc.degree.level ปริญญาโท en
dc.degree.discipline บริหารธุรกิจ en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account