dc.contributor.advisor |
ชุติระ ระบอบ |
|
dc.contributor.advisor |
Chutira Rabob |
|
dc.contributor.author |
สมพล โนดไธสง |
|
dc.contributor.author |
Somphon Nodthaisong |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration |
|
dc.date.accessioned |
2022-05-11T14:05:37Z |
|
dc.date.available |
2022-05-11T14:05:37Z |
|
dc.date.issued |
2020 |
|
dc.identifier.uri |
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/272 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (กจ.ม.) (การจัดการอุตสาหกรรม) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2563. |
th |
dc.description.abstract |
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางปฏิบัติของสถานประกอบการอุตสาหกรรมที่เข้าร่วมโครงการในการปฏิบัติตามเกณฑ์รรมาภิบาลสิ่งแวดล้อมและเพื่อวิเคราะห์ระดับความตระหนักและยอมรับต่อเกณฑ์ธรรมาภิบาลสิ่งแวดล้อมของสถานประกอบการอุตสาหกรรมที่เข้าร่วมโครงการบริหารจัดการด้านธรรมาภิบาลสิ่งแวดล้อม ประชากร ได้แก่ ผู้บริหารสถานประกอบการอุตสาหกรรมในจังหวัดสมุทรปราการ ที่เข้าร่วมโครงการธรรมาภิบาลสิ่งแวดล้อมในจังหวัดสมุทรปราการตั้งแต่ปี พ.ศ. 2561 เจ้าของ ผู้บริหาร พนักงานที่เกี่ยวข้องหัวหน้าหรือตัวแทนส่วนราชการ และผู้นำชุมชน รวมจำนวน 85 คน เครื่องมือที่ใช้แบบสัมภาษณ์และแบบสอบถามสถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ สถิติเชิงพรรณนาอย่างง่าย ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ การวิเคราะห์ข้อมูลแบบสัมภาษณ์ใช้การวิเคราะห์เนื้อหาสถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐานไคสแควส์ ผลการวิจัยพบว่า ความตระหนักและการยอมรับ กลุ่มผู้บริหารและผู้นำชุมชนในประเด็น 7 ด้าน ได้แก่ ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร ประชาชนมีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาความโปร่งใส ความรับผิดชอบต่อสังคม นิติธรรม ความยุติธรรม และความยั่งยืน มีคะแนนเฉลี่ยในระดับสูงทุกด้านทุกฝ่ายมีส่วนเกี่ยวข้องกับการป้องกันปัญหาสิ่งแวดล้อมและกระตือรือร้นเข้ามามีส่วนร่วมกับโครงการ สำหรับช่องทางการสื่อสารเพื่อให้เข้าถึงข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้อง อันจะมีผลกระทบต่อปัญหาสิ่งแวดล้อม ผ่านทางเว็บไซต์ หนังสือพิมพ์ และอื่นๆ ประชาชนมีโอกาสเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขและแสดงข้อคิดเห็นหรือเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาข้อขัดแย้งได้ |
th |
dc.description.abstract |
The purpose of this research was to study practical guideline of industry factory which participate in environmental governance criteria project and to analyze awareness and acceptance level toward environmental governance criteria. The population and samples of this study were the entrepreneur industry factory in Samut Prakan province who joined in environmental governance management since 2018, samples were 85 owners administrators staffs and community leader, the instruments were interview and questionnaire. The statistical analysis showed the frequency, percentage, average, content analysis for interview analysis and Chi-square for hypothesis testing. The research results found that awareness and acceptance of samples participated on good environmental governance criteria in 7 elements were ability to access information, people's participation in problem solving, transparency, social responsibility, rule of law, justice and sustainability were high average score and owner or representative have their roles for environmental problem protection and enthusiast to join in the project. The communication channel media to get right information of the impact from environmental problem via web site, newspaper and others. The people have chance to participate public opinion in argement suggestion. |
th |
dc.language.iso |
th |
th |
dc.publisher |
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ |
th |
dc.subject |
ธรรมาภิบาลสิ่งแวดล้อม |
th |
dc.subject |
ความตระหนัก |
th |
dc.subject |
สถานประกอบการ -- ไทย -- สมุทรปราการ |
th |
dc.subject |
Environmental Governance |
th |
dc.subject |
Awareness |
th |
dc.title |
ความตระหนักและการยอมรับต่อเกณฑ์ธรรมาภิบาลสิ่งแวดล้อม : กรณีศึกษา สถานประกอบการอุตสาหกรรมที่เข้าร่วมโครงการธรรมาภิบาลสิ่งแวดล้อม จังหวัดสมุทรปราการ |
th |
dc.title.alternative |
Awareness and Acceptance on Environmental Governance Criteria : A Case Study of Industrial Factory Participated on Environment Governance Project of Samutprakarn Province |
th |
dc.type |
Thesis |
th |
dc.degree.name |
การจัดการมหาบัณฑิต |
th |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
th |
dc.degree.discipline |
การจัดการอุตสาหกรรม |
th |