DSpace Repository

ความต้องการบุคลากรระดับอาชีวศึกษาภายหลังการรวมกลุ่มประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี พ.ศ.2558

Show simple item record

dc.contributor.advisor บรรเจิดศักดิ์ สัณหภักดี
dc.contributor.advisor Benjertsak Sannhapuckdee
dc.contributor.author ณัฐพงษ์ อิ่มสมัย
dc.contributor.author Nattapong Imsamai
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration
dc.date.accessioned 2024-09-05T15:05:31Z
dc.date.available 2024-09-05T15:05:31Z
dc.date.issued 2014
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2758
dc.description การศึกษาอิสระ (บธ.ม.) (บริหารธุกิจ) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2557 en
dc.description.abstract การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความต้องการบุคลากรทางด้านอาชีวศึกษาภายหลังการรวมกลุ่มประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ที่มีความต้องการจำนวนมากกว่าปริมาณผู้ที่จบการศึกษาสายอาชีวะที่จะมารองรับความต้องการของตลาดแรงงานที่มีแนวโน้มจะเพิ่มสูงขึ้น จึงได้ทำการศึกษาถึงความต้องการของแรงงานสายอาชีพตามความต้องการของตลาดแรงงานว่าเพราะเหตุใดจึงประสบปัญหาการขาดแคลนแรงงาน ผู้วิจัยดำเนินการวิจัย โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลจากเอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ศึกษาโดยทำการศึกษาและเก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์เอกสารจากหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับความต้องการแรงงานสายอาชีพ เพื่อนำข้อมูลที่ได้จากการทำศึกษาในครั้งนี้เป็นแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพในด้านต่างๆ ให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน การศึกษาในครั้งนี้เป็นการเก็บข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เอกสารที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่ศึกษาโดยการเก็บรวบรวมข้อมูลย้อนหลัง 10 ปี โดยทำการเก็บข้อมูลจากสถิติในปี 2546-2555 โดยการนำข้อมูลที่ได้มาทำการทดสอบความสัมพันธ์ของแต่ละตัวแปรโดยใช้วิธี Test of Normality เพื่อค้นหาความสัมพันธ์ของแต่ละตัวแปรว่ามีความสัมพันธ์กันหรือไม่และได้หาข้อมูลทางสถิติโดยใช้การคำนวณแบบถดถอย (Regression Analysis Enter) เพื่อคำนวณหาผลทางสถิติในการคำนวณหาค่าการพยากรณ์ด้วยวิธีการพิจารณาค่าเฉลี่ยของร้อยละ ความคลาดเคลื่อนสัมบูรณ์ของตัวแปร (Mean Absolute Percentage Error – MAPE) ที่มีค่าต่ำสุดในรูปแบบของ Regression และ Weight Average เพื่อทดสอบความสามารถในการพยากรณ์ของแบบจำลอง เพื่อหาแบบจำลองที่เหมาะสมที่สุดโดยการพยากรณ์ครั้งนี้ เพื่อแสดงให้เห็นถึงความต้องการแรงงานในอนาคต en
dc.language.iso th en
dc.publisher มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ en
dc.rights มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ en
dc.subject ประชาคมอาเซียน en
dc.subject ASEAN Community en
dc.subject กำลังคนระดับอาชีวศึกษา en
dc.subject อุปสงค์แรงงาน en
dc.subject Labor demand en
dc.subject พยากรณ์การจ้างงาน en
dc.subject Employment forecasting en
dc.title ความต้องการบุคลากรระดับอาชีวศึกษาภายหลังการรวมกลุ่มประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี พ.ศ.2558 en
dc.title.alternative Need of Labor in Vocational Education Degree after ASEAN Economic Community in 2015 en
dc.type Independent Studies en
dc.degree.name บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต en
dc.degree.level ปริญญาโท en
dc.degree.discipline บริหารธุรกิจ en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account