DSpace Repository

โรคอัลไซเมอร์… มหันตภัยเงียบในวัยชรา

Show simple item record

dc.contributor.author อัญชลี ชุ่มบัวทอง
dc.contributor.author Anchalee Choombuathong
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology en
dc.date.accessioned 2024-09-16T14:17:16Z
dc.date.available 2024-09-16T14:17:16Z
dc.date.issued 2017
dc.identifier.citation วารสารวิชาการสาธารณสุข 17,6 (พฤศจิกายน-ธันวาคม 2551) : 1019-1030. en
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2818
dc.description สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็ม (Full text) ได้ที่ : https://thaidj.org/index.php/JHS/article/view/1291 en
dc.description.abstract โรคอัลไซเมอร์เป็นโรคในกลุ่มอาการสมองเสื่อม จำแนกได้จาก การสูญเสียความจำ การใช้ภาษา ทักษะต่าง ๆ การเปลี่ยนแปลงของบุคลิกภาพ และการตัดสินใจ สาเหตุของการเกิดโรคยังไม่ทราบแน่ชัด อาจเกิดจากพันธุกรรม ความผิดปรกติของการทำงานของเซลล์ประสาท การสะสมของอมัยลอยด์ พลาก และการลดลงของสารสื่อประสาทอะซิติลโคลีน อาการของโรคอัลไซเมอร์จะสูญเสียความจำระยะสั้น ความสามารถในการคิดอย่างเป็นเหตุเป็นผล และการทำงานอย่างง่าย ๆ ถึงแม้ว่าการรักษาโรคอัลไซเมอร์ด้วยยาจะยังไม่ได้ผลดีแต่ก็สามารถชะลอความก้าวหน้าของโรคได้ เช่น ทาครีนหรือค๊อกเน๊กซ์ และโดเนพิซิลหรืออริเซ็ปต์ ผลของยาจะช่วยเพิ่มปริมาณสารสื่อประสาทอะซิติลโคลีนในสมอง ยากลุ่มต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตอรอยด์ (Non steroidal anti-inflammatory drug: NSAID) ใช้ในการรักษาอาการอักเสบจากอมัยลอยด์ พราก และลดความเสี่ยงของการเกิดโรค วิตามินอีที่ใช้ในขนาดที่สูงจะช่วยลดปริมาณอนุมูลอิสระรวมทั้งการใช้ฮอร์โมนเอสโตรเจนก็มีผลการรักษาในสตรีวัยหมดระดูที่ป่วยเป็นโรคอัลไซเมอร์ได้ การดูแลผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์เป็นเรื่องที่ยุ่งยากสำหรับครอบครัวของผู้ป่วยเนื่องจากผู้ป่วยต้องการการเอาใจใส่ และการกระตุ้นความจำ การเรียนรู้ การตัดสินใจ และการใช้ชีวิตประจำวันให้กลับคืนมาเหมือนปรกติ นอกจากนี้การได้ทราบถึงสัญญาณเตือนของการเกิดโรคเพราะโรคนี้มีลักษณะคล้ายอาการที่เสื่อมตามวัยชราจึงทำให้ครอบครัวสามารถที่จะประเมินอาการและ เตรียมความพร้อมในการรักษาได้ในระยะต้น. en
dc.description.abstract Alzheimer’s disease is a common form of dementia among elderly characterized by a slow decline in memory, language, skills, personality and cognition. The cause of Alzheimer’s disease remains unknown, but there appears to be a relationship among genetic predisposition, the abnormal processing of neuronal cell, aggregation of amyloid plaque and decrease of neurotransmitter such as, acetylcholine. Symptoms of Alzheimer’s disease include memory loss, especially recent events, loss of the ability to think logically and unable to do simple tasks. Although there is no cure for Alzheimerีs disease, medications can control the systems and the progression of the disease. Drug therapies for Alzheimerีs disease associated systems are often effective such as tacrine (CognexÒ) and donepezil (AriceptÒ) which increase circulating levels of acetylcholine. Non steroidal anti-inflammatory drug-NSAID is used for treatment of anti-inflammation response amyloid plaque aggregation. Vitamin E in a high dose also appear to delay the progression of disease, presumably by controlling the effects of free radical damage. Also estrogen replacement therapy appears to be an effective treatment in menopausal woman and Alzheimerีs disease. Management of clients with Alzheimer’s disease is a challenge. The clientีs family must provide mental care and memory stimulation, recognition and maintain daily living normalcy. In addition, The warning signs of Alzheimer’s disease should be rapidly recognized as the disease mimics other signs of old age. This information regarding the type of symptoms related to disease can be helpful to family in decision on whether more evaluation and the early treatment are needed. en
dc.language.iso th en
dc.subject โรคอัลไซเมอร์ en
dc.subject Alzheimer's disease en
dc.subject ภาวะสมองเสื่อม en
dc.subject Dementia en
dc.title โรคอัลไซเมอร์… มหันตภัยเงียบในวัยชรา en
dc.title.alternative Alzheimer’s Disease : Silent Danger in Elderly en
dc.type Article en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account