dc.contributor.author |
พรทิพย์ คคนานต์ดำรง |
|
dc.contributor.author |
อรุณรัตน์ ปัทมโรจน์ |
|
dc.contributor.author |
ฉัตรภรณ์ มีอาจ |
|
dc.contributor.author |
อัญชลี ชุ่มบัวทอง |
|
dc.contributor.author |
ชัยยา น้อยนารถ |
|
dc.contributor.author |
ณัฏฐ์พัชร์ วณิชย์กุล |
|
dc.contributor.author |
Pornthip Kakanandamrong |
|
dc.contributor.author |
Arunrat Pattamarot |
|
dc.contributor.author |
Chattaporn Meeart |
|
dc.contributor.author |
Anchalee Choombuathong |
|
dc.contributor.author |
Chaiya Noinart |
|
dc.contributor.author |
Nattapat Vanitkun |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology |
en |
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology |
en |
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology |
en |
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology |
en |
dc.contributor.other |
Prince of Songkla University, Trang Campus. Faculty of Commerce and Management, |
en |
dc.contributor.other |
Sisaket Rajabhat University. Faculty of Liberal Arts and Sciences |
en |
dc.date.accessioned |
2024-09-17T05:59:38Z |
|
dc.date.available |
2024-09-17T05:59:38Z |
|
dc.date.issued |
2020 |
|
dc.identifier.citation |
วารสารวิชาการสาธารณสุข 29, 5 (กันยายน-ตุลาคม 2563) : 822-829. |
en |
dc.identifier.uri |
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2824 |
|
dc.description |
สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็ม (Full text) ได้ที่ :
https://thaidj.org/index.php/JHS/article/view/9473/8510 |
en |
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของการสวดมนต์แบบออกเสียงต่อความเครียด และอัตราการหายใจของนักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ จำนวน 40 คน กลุ่มทดลองมีการสวดมนต์แบบออกเสียง 3 ครั้งต่อสัปดาห์ จำนวน 10 ครั้ง ระยะเวลาในการสวด-มนต์แต่ละครั้ง 15 นาที กลุ่มควบคุมไม่มีการสวดมนต์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบทดสอบความเครียดสวนปรุง (Suanprung Stress Test – 20, SPST – 20) และแบบบันทึกอัตราการหายใจ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนาเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมด้วย t-test พบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนความ-เครียดของกลุ่มควบคุมสูงกว่ากลุ่มทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ p=0.001 และค่าเฉลี่ยของอัตราการหายใจของกลุ่มควบคุมสูงกว่ากลุ่มทดลองอย่างมีนัย
สำคัญทางสถิติที่ระดับ p<0.001 ในขณะที่เปรียบเทียบความแตกต่างกลุ่มก่อนและหลังการทดลองด้วย paired t-test พบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนความเครียดก่อนและหลังการสวดมนต์แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ p<0.001 และค่าเฉลี่ยอัตราการหายใจก่อนและหลังการสวดมนต์แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ p<0.001 สรุปได้ว่าการสวดมนต์แบบออกเสียงของนักศึกษาคณะ-วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ สามารถลดระดับความเครียดและอัตราการหายใจได้ |
en |
dc.description.abstract |
The objective of this study was to examine the effect of sound praying on stress and respiratory rate. It was conducted with quasi-experimental research design, and the study samples were 40 first-year students of Faculty of science and Technology, Huachiew Chalermprakiet University, Thailand. They were divided into 2 groups: experimental group (20 students) and control group (20 students). The experimental group performed sound praying 3 times a week, 10 times in total and the duration of each praying was 15 minutes. The control group did not pray. The study tools were Suanprung Stress Test (20, SPST - 20) and a record form for respiratory rate. Data were analyzed by using descriptive statistics and t-test to compare the differences between the experimental group and the control. It was found that the mean stress score of the control group was higher than that of the experimental group (p=0.001), and the mean respiration rate of the control group was also significantly higher than that of the experimental group (p<0.001). While comparing the differences between the groups before and after the experiment with paired t-test, the average stress score before and after prayer was significant different (p<0.001). Likewise, the average respiration rates before and after prayer were also significant different (p<0.001). Therefore the sound praying was effective in reducing stress levels and respiratory rate among first year students of Faculty of Science and Technology, Huachiew Chalermprakiet University. |
en |
dc.language.iso |
th |
en |
dc.subject |
การสวดมนต์ |
en |
dc.subject |
Prayer |
en |
dc.subject |
ความเครียด (จิตวิทยา) |
en |
dc.subject |
Stress (Psychology) |
en |
dc.subject |
อัตราการหายใจ |
en |
dc.subject |
Respiratory rate |
en |
dc.subject |
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี – นักศึกษา |
en |
dc.subject |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology -- Students |
en |
dc.title |
ผลของการสวดมนต์แบบออกเสียงต่อความเครียด และอัตราการหายใจของนักศึกษาชั้นปี ที่ 1 มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ |
en |
dc.title.alternative |
Effects of Sound Praying on Stress and Respiration Rate of the First-Year Students, Faculty of Science |
en |
dc.type |
Article |
en |