DSpace Repository

ภาวะสุขภาพจิตของนักศึกษาวิทยาศาสตร์สุขภาพชั้นปีที่ 1 ของมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ

Show simple item record

dc.contributor.author อัญชลี ชุ่มบัวทอง
dc.contributor.author Anchalee Choombuathong
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology en
dc.date.accessioned 2024-09-17T09:07:01Z
dc.date.available 2024-09-17T09:07:01Z
dc.date.issued 2010
dc.identifier.citation วารสารวิชาการสาธารณสุข 19, 6 (พฤศจิกายน-ธันวาคม 2553) : 961-970. en
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/2827
dc.description สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็ม (Full text) ได้ที่ : https://thaidj.org/index.php/JHS/article/view/1555/1444 en
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาวะสุขภาพจิตและความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยต่างๆ กับภาวะสุขภาพจิตของนักศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2551 จำนวน 301 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามสุขภาพทั่วไป GHQ-28 (General health questionnaire-28) กลุ่มตัวอย่างเลือกโดยการสุ่มจากกลุ่มการเรียน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและ chi square ผลการศึกษาพบว่า มีนักศึกษามีภาวะสุขภาพจิตปรกติร้อยละ 57.5 และผู้มีปัญหาสุขภาพจิต ร้อยละ 42.5 นักศึกษาคณะเทคนิคการแพทย์มีปัญหาสุขภาพจิตมากที่สุด ร้อยละ 56.0 ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพจิตอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p< 0.05) คือ ปัญหาทางด้านการเรียน ปัญหาทางด้านการเงิน และหากนักศึกษาพบปัญหาทางด้านต่างๆ จะปรึกษากับบิดา-มารดามากที่สุด ร้อยละ 60.1 en
dc.description.abstract The objectives of this research were to explore the mental health and factors influencing mental health. The research included 301 first year health science students at Huachiew Chalermprakiet University in the first semester during the academic year 2008. The samples were selected by random sampling out of class sections. The instrument was standardized GHQ-28 (General health questionnaire-28). Data were analyzed by using descriptive statistics and chi square. The results indicated that most of the first year health science students (57.5%) had good mental health. Some (42.5%) of them had mental health problems. Medical technology students had the most mental health problems (56.0%). There were significant relationships between the academic achievement and financial problems resulting in mental health complications at the 0.05 level of significance. Most students (60.1%) tended to consult with their parents in case of problems related to mental health. en
dc.language.iso th en
dc.subject สุขภาพจิต en
dc.subject Mental health en
dc.subject นักศึกษาวิทยาศาสตร์สุขภาพ en
dc.subject Health science students en
dc.subject มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ – นักศึกษา en
dc.subject Huachiew Chalermprakiet University -- Students en
dc.subject วิทยาศาสตร์สุขภาพ en
dc.title ภาวะสุขภาพจิตของนักศึกษาวิทยาศาสตร์สุขภาพชั้นปีที่ 1 ของมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ en
dc.title.alternative Mental Health of First Year Health Science Students in Huachiew Chalermprakiet University en
dc.type Article en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account