DSpace Repository

วิเคราะห์ภาพสะท้อนสังคมไทยและสิ่งแวดล้อมในนวนิยายที่ได้รับรางวัลลูกโลกสีเขียว พ.ศ. 2553-2558

Show simple item record

dc.contributor.author Zhou, Yanyan
dc.contributor.author รัชนีพร ศรีรักษา
dc.contributor.author Ruchaneeporn Sriruksa
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Arts. Student of Master of Liberal Arts. en
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Arts en
dc.date.accessioned 2024-10-22T13:47:17Z
dc.date.available 2024-10-22T13:47:17Z
dc.date.issued 2021
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3095
dc.description การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 12 (12th Global Goals, Local Actions: Looking Back and Moving Forward 2021) วันที่ 15 มกราคม 2564 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา 12,1 (2021) : 467-476. en
dc.description สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็ม (Full text) ได้ที่ : http://journalgrad.ssru.ac.th/index.php/8thconference/article/view/2344 en
dc.description.abstract การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ภาพสะท้อนสังคมไทยและสิ่งแวดล้อมในนวนิยายที่ได้รับรางวัลลูกโลกสีเขียว พ.ศ. 2553-2558 จำนวน 5 เล่มซึ่งมีเรื่องราวกล่าวถึงวิถีการดำเนินชีวิตของชาวชนบทที่มีความผูกพันกับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ผลการวิจัยพบว่านวนิยายที่ได้รับรางวัลลูกโลกสีเขียวสะท้อนให้เห็นถึงภาพสังคมไทยและสิ่งแวดล้อมใน 3 ด้าน คือ 1) ด้านชีวิตความเป็นอยู่ของคนไทย ลักษณะที่อยู่อาศัยของคนไทย พบว่า คนไทยในชนบทอาศัยอยู่ใกล้ชิดกับธรรมชาติและใช้วัสดุจากธรรมชาติเป็นพื้นฐานในการดำรงชีวิต การประกอบอาชีพ พบว่า คนไทยมีการประกอบอาชีพที่แตกต่างกันในแต่ละท้องถิ่น และคนไทยทางภาคใต้ส่วนใหญ่จะประกอบอาชีพชาวประมง อาหารการกิน พบว่า อาหารของคนไทยในชนบทส่วนใหญ่ใช้วัตถุดิบในการทำอาหารที่มาจากธรรมชาติ 2) ด้านวัฒนธรรมสะท้อนให้เห็นประเพณีและความเชื่อต่าง ๆ ในด้านประเพณี พบว่า คนไทยในภาคใต้มีประเพณีเข้าสุหนัตของชาวมุสลิมที่มีเอกลักษณ์แตกแต่งจากคนไทยกลุ่มอื่น ด้านความเชื่อพบว่า ชาวเงาะมีความเชื่อเกี่ยวกับเรื่องฝันที่แตกต่างจากคนไทยกลุ่มอื่นคือ ชาวเงาะเชื่อว่าคนที่เสียชีวิตไปแล้วจะไม่เข้าฝันของคนที่ยังมีชีวิตอยู่ 3) ด้านคุณธรรมจริยธรรม สะท้อนให้เห็นว่าคนไทยเป็นคนที่มีน้ำใจ เสียสละ และมีความรับผิดชอบ เป็นคุณธรรมจริยธรรมที่สำคัญอย่างหนึ่งของการดำเนินชีวิตที่ทุกคนต้องมีต่อสิ่งมีชีวิตทั้งมนุษย์และสัตว์ en
dc.description.abstract This research aimed to analyze reflections of Thai society and environment in five novels awarded Green Globe Institution Award, during 2010 2015. The work studied mainly presented lives of rural Thais whose living was closely bound up with the nature and environment. Three aspects of Thai society relating to environment were found as the following. 1) Ways of life, the living of rural Thais mainly depended on the nature which provided them materials for houses and food. Local environment was a prime fac tor of careers of people, like most southern Thais were fishermen since their hometowns were surrounded by seas. 2) Culture, particular beliefs and practices were noted, like the circumcision ceremony was important among the southern Muslim Thais; and the Ngou race, in south bordered provinces, believed passed away relatives would not come in their dreams. 3) Moral, compassion; sacrifice; and responsibilities for humans and all creatures were observed as necessity for living. en
dc.language.iso th en
dc.rights มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา en
dc.subject นวนิยายไทย -- ประวัติและวิจารณ์ en
dc.subject Thai fiction -- History and criticism en
dc.subject ปัญหาสิ่งแวดล้อม en
dc.subject วรรณกรรมกับสังคม en
dc.subject Literature and society en
dc.subject การวิเคราะห์เนื้อหา en
dc.subject Content analysis (Communication) en
dc.subject ชาวชนบท -- ไทย en
dc.subject Peasants -- Thailand en
dc.subject ไทย -- ภาวะสังคม en
dc.subject Thailand -- Social conditions en
dc.subject สังคมไทย en
dc.subject รางวัลลูกโลกสีเขียว en
dc.subject Green Globe Institution Award en
dc.title วิเคราะห์ภาพสะท้อนสังคมไทยและสิ่งแวดล้อมในนวนิยายที่ได้รับรางวัลลูกโลกสีเขียว พ.ศ. 2553-2558 en
dc.title.alternative An Analysis Of Reflections Of Thai Society And Environment In Green Globe Institution Awarded Novels During 2010 2015 en
dc.type Proceeding Document en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account