DSpace Repository

ภาพสะท้อนสังคมชาวประมงในนวนิยายของ ประชาคม ลุนาชัย

Show simple item record

dc.contributor.author Xuelian Lu
dc.contributor.author พัชรินทร์ บูรณะกร
dc.contributor.author Patcharin Buranakorn
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Arts. Student of Master of Liberal Arts. en
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Arts en
dc.date.accessioned 2024-10-22T14:08:58Z
dc.date.available 2024-10-22T14:08:58Z
dc.date.issued 2021
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3097
dc.description การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 12 (12th Global Goals, Local Actions: Looking Back and Moving Forward 2021) วันที่ 15 มกราคม 2564 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา 12,1 (2021) : 457-466. en
dc.description สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็ม (Full text) ได้ที่ : http://journalgrad.ssru.ac.th/index.php/8thconference/article/view/2343 en
dc.description.abstract การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ภาพสะท้อนสังคมชาวประมงในนวนิยายของประชาคม ลุนาชัย ขอบเขตงานวิจัยคือศึกษานวนิยายของประชาคม ลุนาชัย ที่มีเนื้อเรื่องเกี่ยวกับชีวิตชาวประมง จำนวน 6 เรื่อง ได้แก่ คนข้ามฝัน ฝั่งแสงจันทร์ กลางทะเลลึก ในกับดักและกลางวงล้อม ไต้ก๋ง เที่ยวเรือสุดท้าย โดยนำเสนอผลการวิจัยแบบพรรณนาวิเคราะห์ (Descriptive Analysis) ผลการวิจัยพบว่า ภาพสะท้อนสังคมชาวประมงในนวนิยายของ ประชาคม ลุนาชัย แบ่งออกเป็น 2 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านชีวิตความเป็นอยู่ของชาวประมงมี 2 ด้าน คือ ชีวิตความเป็นอยู่บนเรือ ที่อยู่อาศัยบนเรือต้องนอนร่วมกับคนจำนวนมากพื้นที่แคบและแออัดไม่มีสิ่งอำนวยความสะดวกในการพักผ่อนที่เหมาะสม อาหารการกินมีอาหารทะเลกินอย่างความอุดมสมบูรณ์มีวิธีการทำอาหารที่หลากหลายส่วนชีวิตความเป็นอยู่บนฝั่งที่อยู่อาศัยใกล้ชิดทะเลแม่น้ำลำคลองมีลักษณะเป็นบ้านไม้ไผ่และบรรยากาศรอบบ้านเงียบสงบการคมนาคม นิยมใช้รถจักรยานยนต์ในการเดินทางไปในที่ต่าง ๆ ที่ไม่ไกลจากบ้านมากนัก 2) ด้านวัฒนธรรมไทยในสังคมชาวประมงพบว่า มีความเชื่อเรื่องแม่ย่านางชาวประมงเซ่นไหว้แม่ย่านางก่อนออกทะเลเพื่อให้นำโชคลาภมาให้ตนและช่วยให้ปลอดภัยในการเดินทางมีความเชื่อในพุทธศาสนาชาวประมงชอบทำบุญไหว้พระทำความดีเพื่อได้รับผลดีต่อชีวิตส่วนประเพณีแต่งงานชาวประมงจะจัดพิธีแต่งงานเช่นเดียวกับคนไทยโดยทั่วไปคือ มีพิธีแห่ขันหมากและการแต่งชุดไทยในงานแต่งงานแต่จะเน้นความเรียบง่ายในการจัดงานเป็นสำคัญ en
dc.description.abstract This research aimed to analyze reflections of the society of fishermen in six novels of Prachakom Lunachai, including Kon-kam-fun; Fang-sang-chan; Klang-tale-luek; Nai-kup-duk-lae-klang-wong-lorm; Tai-gong; and Thaew-reu-sod-thy. Research findings were reported as a descriptive analysis. Two aspects of the fishermen society, reflected in the studied novels, were found as the following. 1) Ways of live, both livings of the fishermen – on board and on land – were reflected. The living on board, on fishing ships, was crowded due to many workers but limited space and lacking of facilities; however, rich sea food cooked variously was sufficient. For on land living, mostly in bamboo houses located close to the sea; rivers; or canals, was tranquil; the daily commute mainly depended on motorcycles. 2) Cultural practices were based on traditional beliefs and Buddhism, like worshipping of Ya-ngang, the marine goddess, merit making; worshipping the Buddha images; and doing good conduct wishing for prosperity in life. en
dc.language.iso th en
dc.rights มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา en
dc.subject ประชาคม ลุนาชัย -- แนวการเขียน en
dc.subject Prachakom Lunachai -- Literary style en
dc.subject ชาวประมง -- ไทย -- ภาวะสังคม en
dc.subject Fisherman -- Thailand -- Social conditions en
dc.subject ชาวประมง -- ไทย -- ภาวะเศรษฐกิจ en
dc.subject Fisherman -- Thailand -- Economic conditions en
dc.subject การวิเคราะห์เนื้อหา en
dc.subject Content analysis (Communication) en
dc.subject นวนิยายไทย -- ประวัติและวิจารณ์ en
dc.subject Thai fiction -- History and criticism en
dc.title ภาพสะท้อนสังคมชาวประมงในนวนิยายของ ประชาคม ลุนาชัย en
dc.title.alternative Reflections of Fishermen Communities in Novels of Prachakom Lunachai en
dc.type Proceeding Document en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account