dc.contributor.advisor |
พรสิริ ปุณเกษม |
|
dc.contributor.advisor |
Pornsiri Poonakasem |
|
dc.contributor.author |
ทวีเกียรติ เตชหัวสิงห์. |
|
dc.contributor.author |
Thaweekiat Techahuasingh |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration |
|
dc.date.accessioned |
2024-10-23T12:06:18Z |
|
dc.date.available |
2024-10-23T12:06:18Z |
|
dc.date.issued |
2001 |
|
dc.identifier.uri |
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3113 |
|
dc.description |
ภาคนิพนธ์ (บธ.ม.) (บริหารธุรกิจ) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2544 |
en |
dc.description.abstract |
ภาคนิพนธ์เรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาปัญหาทางการตลาดของสหกรณ์ธรรมชาติพัฒนา จำกัด ที่จะมีส่วนช่วยในการแก้ไขปัญหาเพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน รวมทั้งการสำรวจพฤติกรรมซื้อผลิตภัณฑ์ธรรมชาติของผู้บริโภคจากร้านสหกรณ์ธรรมชาติ ทั้ง 8 สาขา อันได้แก่ สาขาถนนรามคำแหง ถนนประชาชื่น ถนนพหลโยธิน ปากซอยลาดพร้าว 111 ถนนพระราม 4 ถนนติวานนท์ ซอยสุขุมวิท เพชรเกษม 57 ในการศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงวิเคราะห์เจาะลึกปัญหาการตลาดของสหกรณ์ธรรมชาติพัฒนา จำกัด โดยทำการสำรวจความคิดเห็นผู้บริโภคจากแบบสอบถามและใช้ตัวอย่างประชากร 200 คน และทำการสัมภาษณ์ผู้บริหาร เจ้าหน้าที่ ผู้ที่มีความเกี่ยวข้องกับสหกรณ์ธรรมชาติพัฒนา จำกัด ตลอดจนวิเคราะห์ข้อมูลทุติยภูมิจากแหล่งต่างๆผลการศึกษาพบว่าสาเหตุที่ทำให้ยอดขายลดลงเนื่องจาก1. การมีสินค้าไม่หลากหลายต่อความต้องการเลือกซื้อของผู้บริโภคและสถานที่ตั้งห่างไกลจากแหล่งชุมชน2. นโยบายการขยายสาขาแบบค่อยเป็นค่อยไปทำให้มีข้อจำกัดเรื่องช่องทางการจำหน่าย3. การให้ข่าวสารการประชาสัมพันธ์มีน้อยส่งผลให้จำนวนสมาชิกเพิ่มขึ้นในอัตราที่ลดลง4. การตรวจสอบสินค้าก่อนจัดซื้อมีต้นทุนในการตรวจสอบสูง ทำให้ราคาสินค้าสูงกว่าคู่แข่ง5. พนักงานใช้เวลาส่วนใหญ่ในการตรวจสต๊อกสินค้า ขาดพนักงานแนะนำบริการลูกค้าจากการพิจารณาทรัพยากรที่มีอยู่ในองค์กรพร้อมทั้งคำนึงถึงความเป็นไปได้ในการแก้ไขปัญหาที่จะส่งผลให้สหกรณ์ธรรมชาติสามารถเพิ่มศักยภาพในการแก้ไขปัญหาได้ตามแนวทางดังนี้แนวทางแรก คือ แนวทางแก้ไขปัญหาในระยะสั้นช่วงระยะเวลา 1 ปี โดยการจัดส่งเสริมการขายทุกวันอาทิตย์ซึ่่งจากผลการสำรวจมีผู้มาซื้อของมากที่สุด กำหนดทีมรับผิดชอบในด้านบริหารสินค้าในร้านสหกรณ์และทีมบริหารลูกค้า เพิ่มสินค้าให้มีความหลากหลายมากขึ้น จัดอบรมให้ความรู้กับลูกค้าเป้าหมาย และทำโครงการสมาชิกแนะนำสมาชิก (Member get member)แนวทางที่สอง คือ แนวทางการแก้ไขปัญหาในระยะกลางช่วงระยะเวลา 1 ถึง 5 ปี โดยจัดให้มีการส่งเสริมให้ชุมชนเกษตรกรผลิตผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติมากขึ้น เสนอขายหุ้นให้กับโรงพยาบาลรัฐและเอกชนและบุคลากรภายในองค์กร เปิดเคาน์เตอร์หรือสาขาในโรงพยาบาล ผลักดันผักปลอดสารพิษและสมุนไพรเข้าไปอยู่ในรายการอาหารและยาของโรงพยาบาล ใช้ระบบบาร์โค้ด (Barcode) ในการควบคุมบริหารสินค้า และให้สิทธิประโยชน์เพิ่มคุณค่าแก่สมาชิก แนวทางที่สาม คือ แนวทางการแก้ไขปัญหาในระยะยาวตั้งแต่ 5 ปีขึ้นไป คือ จัดทำระบบแฟรนไชล์ |
en |
dc.language.iso |
th |
en |
dc.publisher |
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ |
en |
dc.rights |
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ |
en |
dc.subject |
สหกรณ์ธรรมชาติพัฒนา จำกัด -- การตลาด |
en |
dc.subject |
Thammachat Phadthana Cooperative Ltd -- Marketing |
en |
dc.subject |
พฤติกรรมผู้บริโภค |
en |
dc.subject |
Consumer behavior |
en |
dc.subject |
ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ |
en |
dc.subject |
Natural products |
en |
dc.subject |
การส่งเสริมการขาย |
en |
dc.subject |
Sales promotion |
en |
dc.title |
การเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันทางการตลาดของสหกรณ์ธรรมชาติพัฒนา จำกัด |
en |
dc.title.alternative |
Increasing the Market Potentials of Thammachat Phadthana Cooperative Ltd. |
en |
dc.type |
Independent Studies |
en |
dc.degree.name |
บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต |
en |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
en |
dc.degree.discipline |
บริหารธุรกิจ |
en |