DSpace Repository

ภาพสะท้อนวิถีชีวิตของคนไทยในนวนิยายเรื่อง กรงกรรม

Show simple item record

dc.contributor.author Liqun-Zhang
dc.contributor.author สมเกียรติ รักษ์มณี
dc.contributor.author Somkiat-Rakmanee
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Arts. Student of Doctor of Arts Program en
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Arts en
dc.date.accessioned 2024-10-27T09:01:17Z
dc.date.available 2024-10-27T09:01:17Z
dc.date.issued 2023
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3151
dc.description การประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 14 (14th Hatyai National and International Conference) วันศุกร์ที่ 14 พฤษภาคม 2566 ณ ห้องประชุม Blue Ocean Hall อาคารคณะบริหารธุรกิจ โดย มหาวิทยาลัยหาดใหญ่อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา และ Online Conference : หน้า 477-491 en
dc.description สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่ : https://www.hu.ac.th/conference/proceedings/doc/04%20%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%B8%E0%B8%A9%E0%B8%A2%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B9%8C%20Hu/20-Hu-127%20(477-491).pdf en
dc.description.abstract งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ภาพสะท้อนวิถีชีวิตของคนไทยในนวนิยายเรื่อง กรงกรรม โดยใช้การวิเคราะห์เนื้อหาและนำเสนอผลการวิจัยเชิงพรรณนาวิเคราะห์ ผลวิจัยพบว่า ในนวนิยายเรื่อง กรงกรรม ได้สะท้อนภาพวิถีชีวิตของคนไทย 5 ด้าน ได้แก่ 1) ด้านการประกอบอาชีพ พบว่า มีอาชีพค้าขาย อาชีพรับจ้าง และอาชีพเกษตรกรรม 2) ด้านการคมนาคม พบว่า มีการคมนาคมที่ช่วยการเดินทาง และ การคมนาคมที่ช่วยการค้าขาย 3) ด้านคุณธรรมจริยธรรมและแนวคิดในการดำเนินชีวิต พบว่า มีความอดทน ความมีน้ำใจ ความช่วยเหลือ การสืบทอดมรดก การมีคู่ครอง และการสั่งสอนให้ประพฤติดี 4) ด้านการ แต่งกาย พบว่า มี 3 ลักษณะ คือ แต่งกายตามสบายแบบชาวบ้านทั่วไป แต่งกายให้ดูดีสอดคล้องกับการ ประกอบอาชีพ และแต่งกายให้ดูดีตามแบบข้าราชการหรือผู้มีสถานะทางสังคมสูง 5) ด้านการศึกษา พบว่า การศึกษาในนวนิยายเรื่องนี้เป็นการศึกษาโดยอ้อม ได้แก่ การศึกษาจากการบวชเรียนที่วัดใน พระพุทธศาสนา การศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเอง และการศึกษาผ่านประสบการณ์ตรงจากการทำงาน en
dc.description.abstract This research aims to analyze reflections of Thai ways of life in the novel called Krongkarma. Content analysis is the research methodology, and the findings are reported as a descriptive analysis. Five reflections of Thai ways of life are presented in the novel studied, including 1) occupations, trading; labors; and farmers; 2) transportation, dealing with travelling and commerce; 3) moral and ideas of living, working hard; kindness; giving support; inheritance; marriage; and moral teaching; 4) dressing, daily casual style; working attire; official uniform; and high class style; 5) education, traditional learning from senior monks; self-teaching; and work apprentice en
dc.language.iso th en
dc.rights คณะกรรมการการประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติ en
dc.subject กรงกรรม (นวนิยาย) – ประวัติและวิจารณ์ en
dc.subject Krongkarma (Fiction) – History and criticism en
dc.subject นวนิยายไทย en
dc.subject Thai fiction en
dc.subject การวิเคราะห์เนื้อหา en
dc.subject Content analysis (Communication) en
dc.subject ไทย – ความเป็นอยู่และประเพณี en
dc.subject Thailand -- Social life and customs en
dc.subject ไทย – ภาวะสังคม en
dc.subject Thailand -- Social conditions en
dc.title ภาพสะท้อนวิถีชีวิตของคนไทยในนวนิยายเรื่อง กรงกรรม en
dc.title.alternative Reflections of Thai Ways of Life in the Novel Called Krongkarma en
dc.type Proceeding Document en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account