dc.contributor.author |
Liu Qin |
|
dc.contributor.author |
ธีรโชติ เกิดแก้ว |
|
dc.contributor.author |
Teerachoot Kerdkaew |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Arts. Student of Doctor of Arts Program |
en |
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Arts |
en |
dc.date.accessioned |
2024-10-27T09:10:01Z |
|
dc.date.available |
2024-10-27T09:10:01Z |
|
dc.date.issued |
2023 |
|
dc.identifier.uri |
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3152 |
|
dc.description |
การประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 14 (14th Hatyai National and International Conference) วันศุกร์ที่ 14 พฤษภาคม 2566 ณ ห้องประชุม Blue Ocean Hall อาคารคณะบริหารธุรกิจ โดย มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา และ Online Conference : หน้า 769-783 |
en |
dc.description |
สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็ม Full text) ได้ที่ :
https://www.hu.ac.th/conference/proceedings/doc/06%20%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%A1%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B9%8C%20So/6-So-038%20LIU%20QIN%20769-783.pdf |
en |
dc.description.abstract |
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความเป็นมา รูปแบบ ความเชื่อ และภูมิปัญญา ของยันต์ไทยในประเทศไทยกับยันต์ฮู้ในสาธารณรัฐประชาชนจีน ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพโดยศึกษา จากเอกสารและการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก ผลการวิจัยพบว่า ยันต์ไทยมากจากการเผยแพร่ของศาสนา พุทธและศาสนาพราหมณ์ ศิลปะโบราณวัตถุ วรรณคดี และประวัติศาสตร์ รูปแบบของยันต์ไทยพบ 6 รูปแบบ คือ ยันต์กลม ยันต์สามเหลี่ยม ยันต์สี่เหลี่ยม ยันต์แถว ยันต์ลูกผสม และยันต์รูปแบบอิสระ ความ เชื่อของยันต์ไทย พบว่า มาจากพลังอำนาจในธรรมชาติภูตผีปีศาจ อำนาจศักดิ์สิทธิ์เทพเจ้าในศาสนา และไสยศาสตร์ ส่วนความเป็นมาของยันต์ฮู้พบว่า มาจากโบราณวัตถุ นิทานพื้นบ้าน และประวัติศาสตร์ รูปแบบของยันต์ฮู้พบ 5 รูปแบบ คือ ตัวอักษรจีนตัวเดิมหรือซ้ำ ตัวอักษรจีนลากเส้น ลายสัตว์มงคล รูปที่ ดูไม่ออก และตัวอักษรจีนผสมกับรูปเทพเจ้า ความเชื่อของยันต์ฮู้พบว่ามาจากสิ่งที่มีอำนาจเหนือมนุษย์ ภูตผีปีศาจ อำนาจศักดิ์สิทธิ์เทพเจ้าในลัทธิเต๋า และไสยศาสตร์ ผลการเปรียบเทียบพบว่า ยันต์ไทยและยันต์ฮู้มีพื้นฐานมาจากการนับถือดิน ฟ้า ไฟ ลม อากาศ ของคนโบราณ และนำความเชื่อด้านศาสนามาผสมผสาน โดยยันต์ไทยได้รับอิทธิพลจากศาสนาพุทธและ ศาสนาพราหมณ์ขณะที่ยันต์ฮู้ได้รับอิทธิพลจากลัทธิเต๋า รูปแบบของยันต์ทั้งสองประเภทเขียนเป็นตัวอักษร และมีรูปภาพประกอบ โดยยันต์ไทยส่วนใหญ่เขียนเป็นอักษรขอม ส่วนยันต์ฮู้เขียนเป็นตัวอักษรจีน ความ เชื่อของยันต์ทั้งสองมีความคล้ายกันในทุกด้าน และเน้นด้านไสยศาสตร์เป็นหลัก ที่สำคัญยันต์ทั้งสอง ประเภทเป็นสื่อแห่งภูมิปัญญาที่แฝงด้วยเรื่องราว คติธรรม คำสอนทางศาสนา และความงามที่แสดงถึงอัต ลักษณ์ทางด้านศิลปวัฒนธรรมของชาติที่กำลังถูกลืมไป |
en |
dc.description.abstract |
This article bases on the qualitative research about the origins, types, beliefs and wisdom of Thai talismans compared to Chinese talismans. Documentary study and indepth interviews are research methodology. Research findings are reported as a descriptive analysis. For Thai talismans in Thailand, the research found four sources of the origin including the arrival of Buddhism and Brahmanism at Thailand; antique art; literature and history. Six types of Thai talismans were found, including the circle shape; triangle shape; square shape; row shape; two types mixed; and free form. Five beliefs relating to Thai talismans found are the supernatural power; ghosts and spirit related; power related; religious gods; and superstition. For Chinese talismans in People’s Republic of China, the origin is from three sources, including antiquities; folktales; and history. Five types are found, including the old Chinese characters type; the type of Chinese characters in the form of auspicious animals; the free form type; the type that doesn’t look out and the type of Chinese characters with gods. Five beliefs relating to Chinese talismans found are the supernatural power; ghosts and spirit related; power related; gods of Taoism; and superstition. By the comparative study, many similarities of Thai and Chinese talismans are observed; the origins of both are relating to the worshipping of earth; sky; fire; wind; and air of the ancestors. Religious beliefs of Buddhism and Brahmanism, which are not original in Thailand, are interwoven in Thai talismans, while beliefs in Taoism, the original religion in China, mixed in Chinese talismans. Characters of Khorm and Chinese languages along with drawings are written on Thai and Chinese, respectively, talismans studied. Beliefs relating to both talismans are similar which focuses on superstition. Importantly, the two studied talismans are mediums that show the wisdom, through tales; moral; religious teachings and beauty, which is the fading cultural identities. |
en |
dc.language.iso |
th |
en |
dc.rights |
คณะกรรมการการประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติ |
en |
dc.subject |
ยันต์ |
en |
dc.subject |
Yanta |
en |
dc.subject |
Talismans – Thailand |
en |
dc.subject |
ยันต์ฮู้ |
en |
dc.subject |
Talismans – China |
en |
dc.subject |
เครื่องรางของขลัง – ไทย |
en |
dc.subject |
Amulets – Thailand |
en |
dc.subject |
เครื่องรางของขลัง – จีน |
en |
dc.subject |
Amulets – China |
en |
dc.subject |
ความเชื่อ |
en |
dc.subject |
Belief and doubt |
en |
dc.title |
การศึกษาเปรียบเทียบยันต์ไทยในประเทศไทยกับยันต์ฮู้ในสาธารณรัฐประชาชนจีน |
en |
dc.title.alternative |
A Comparative Study of Thai Talismans and Chinese Talismans |
en |
dc.type |
Proceeding Document |
en |