dc.contributor.author |
วรนุช มีภูมิรู้ |
|
dc.contributor.author |
นพมาศ อัครจันทโชติ |
|
dc.contributor.author |
ศิลา เต็มศิริฤกษ์กุล |
|
dc.contributor.author |
ประยูรศักดิ์ เปลื้องผล |
|
dc.contributor.author |
ยุวธิดา ชิวปรีชา |
|
dc.contributor.author |
เปรมรัตน์ พูลสวัสดิ์ |
|
dc.contributor.author |
ณัฐพร นันทจิระพงศ์ |
|
dc.contributor.author |
นฤดี บูรณะจรรยากุล |
|
dc.contributor.author |
จริยา ประณิธาน |
|
dc.contributor.author |
Woranuch Meepoomroo |
|
dc.contributor.author |
Noppamas Akarachantachote |
|
dc.contributor.author |
Sila Temsiririrkkul |
|
dc.contributor.author |
Prayoonsak Pluengphon |
|
dc.contributor.author |
Yuwathida Chiwpreechar |
|
dc.contributor.author |
Premrat Poolsawad |
|
dc.contributor.author |
Nathaphon Nanthajirapong |
|
dc.contributor.author |
Naruedee Buranajanyakul |
|
dc.contributor.author |
Jariya Pranitan |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology |
en |
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology |
en |
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology |
en |
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology |
en |
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology |
en |
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology |
en |
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology |
en |
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology |
en |
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology |
en |
dc.date.accessioned |
2024-11-02T09:15:26Z |
|
dc.date.available |
2024-11-02T09:15:26Z |
|
dc.date.issued |
2023 |
|
dc.identifier.uri |
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3196 |
|
dc.description.abstract |
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาปัญญาประดิษฐ์ (หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2563) คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ โดยใช้รูปแบบการประเมินหลักสูตร CIPP ของ ศาสตราจารย์ ดร. แดเนียล แอล สตัฟเฟิลบีม ที่รวบรวมข้อมูลผ่านการใช้แบบสอบถาม โดยมีผู้ตอบแบบสอบถามกลุ่มต่างๆ ดังนี้ ตัวแทนสถานประกอบการจำนวน 5 คน ผู้เชี่ยวชาญ/ผู้ทรงคุณวูมิจำนวน 3 คน ผู้บริหารภายในจำนวน 3 คน อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรจำนวน 5 คน อาจารย์ผู้สอน/อาจารย์ประจำหลักสูตรจำนวน 15 คน บัณฑิตจำนวน 9 คน นักศึกษาจำนวน 35 คน และผู้ปกครองจำนวน 20 คน รวมถึงข้อมูลสะท้อนกลับจากผู้ประกอบการในการนิเทศสหกิจศึกษา/ฝึกงานของนักศึกษา ประจำปีการศึกษา 2566 และการรวบรวมข้อมูลผ่านกิจกรรมการระดมสมอง ซึ่งมีตัวแทนสถานประกอบการ และผู้ทรงคุณวุฒิที่มีความเชี่ยวชาญทางด้านปัญญาประดิษฐ์จำนวน 5 ท่าน ร่วมกับอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรจำนวน 5 คน และนักศึกษาชั้นปีที่ 4 จำนวน 9 คน รวมทั้งหมด 19 คน เข้าร่วมให้ความคิดเห็นที่มีต่อองค์ประกอบต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตรทั้ง 4 ด้าน โดยผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ ด้านบริบท ประเมินและสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับบริบทของหลักสูตรทั้ง 3 องค์ประกอบ ได้แก่ ด้านวัตถุประสงค์หลักสูตร โครงสร้างหลักสูตร และเนื้อหาหลักสูตรรายวิชาต่างๆ ในภาพรวมมีคะแนนอยู่ในระดับมาก มีค่าคะแนนเฉลี่ยรวม 4.16 ทั้งนี้มีข้อเสนอแนะการออกแบบหลักสูตร โดยให้จัดทำมาตรฐาน ผลการเรียนรู้ (Program Learning Outcomes: PLOs) ตามแนวทาง Outcome-Based Education (OBE) ด้านปัจจัยนำเข้าของหลักสูตร ประเมินผลและสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยนำเข้าของหลักสูตรทั้ง 3 องค์ประกอบ ได้แก่ คุณสมบัติของนักศึกษาแรกเข้า คุณสมบัติของอาจารย์ และปัจจัยต่างๆ ที่เอื้อต่อการจัดการเรียนการสอน มีคะแนนอยู่ในระดับมาก มีค่าคะแนนเฉลี่ยรวม 4.12 มีข้อเสนอแนะ ควรเพิ่มจำนวนเครื่องคอมพิวเตอร์รวมถึงอุปกรณ์ต่างๆ ให้มีจำนวนเพียงพอ และมีคุณสมบัติที่รองรับโปรแกรมปัจจุบันได้ ด้านกระบวนการหลักสูตร ประเมินการจัการเรียนการสอน และการวัดและประเมินผล ผลการประเมินภาพรวมอยู่ในระดับมาก มีค่าคะแนนเฉลี่ยรวม 3.86 มีข้อเสนอแนะ ควรเน้นการฝึกทักษะปฏิบัติควบคู่กับสาระสำคัญของเนื้อหารายวิชา ใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับงานได้ เรียนรู้จากโจทย์งานจริงและเชิญผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางมาให้ความรู้ รวมถึงถ่ายทอดประสบการณ์การทำงานด้านปัญญาประดิษฐ์อย่างต่อเนื่อง ด้านผลผลิตของหลักสูตร ได้ประเมินคุณลักษณะบัณฑิตตามวัตถุประสงค์และมาตรฐานการเรียนรู้ทั้ง 5 ด้านของหลักสูตร ได้แก่ ด้านคุณธรรม จริยธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปัญญา ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ และด้านการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ พบว่า ผลการประเมินภาพรวมอยู่ในระดับมก มีค่าคะแนนเฉลี่ยรวม 4.02 โดยให้เน้นการฝึกทักษะด้านการสื่อสารกับผู้อื่น การกล้าแสดงออก ไม่จำกัดความคิดของตนเองในกรอบ และมีความมั่นใจในศักยภาพของตนเอง คิดหาโจทย์ปัญหาทางคอมพิวเตอร์ได้ มีความสามารถในการแก้ปัญหาอย่างเป็นเหตุเป็นผล มีทักษะการเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง จากผลประเมินหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาปัญญาประดิษฐ์ (หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2563) ในภาพรวมของหลักสูตรมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมาก ซึ่งผลการวิจัยสามารถนำไปเป็นแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรต่อไป |
|
dc.description.abstract |
The purpose of this research is to evaluate the Bachelor of Science program in the field of Artificial Intelligence, at the Faculty of Science and Technology, Huachiew Chalermprakiet University. Using the CIPP course evaluation model of Professor Dr. Daniel L. Stuffelbeam, which collects data through the use of questionnaires, the respondents were in various groups as follows: 5 representatives of establishments, 3 external experts, 3 internal executives, 5 instructors in charge of the curriculum, 15 instructors, 9 graduates, 35 students, and 20 parents, including feedback from operations in the supervision cooperative education/internship of students for the academic year 2023 and data collection through brainstorming activities which has representatives of establishments and 5 experts with expertise in artificial intelligence, along with 5 professors responsible for the curriculum and 9 fourth-year students, a total of 19 people, participated in giving their opinions on various elements related to Curriculum in all 4 areas. The research results are summarized as follows: In context evaluation, the contextual aspect was evaluated and surveyed opinions regarding the context of the three components of the curriculum: curriculum objectives; course structure and overall course content of various subjects it is rated at a high level with an average score of 4.16. There were suggestions for designing the curriculum by creating standards for Program Learniing Outcomes (PLOs) according to the Outcome-Based Education (OBE) guidelines. In inputs evaluation, course entry information was evaluated and survey opinions on 3 elements of the curriculum, including the qualifications of students entering their studies for the first time: teacher qualifications and factors of various things that are conducive to teaching. The overall average score is 4.12, which recommended increasing the number of computers and equipment to be sufficient and have the features to support the current program. In process evolution, the curriculum process aspect was evaluated by the teaching learning arrangements and measurement evaluation. The overall evaluation results were at a high level an average score of 3.86, suggesting that practical skills training skills training should be emphasized along with the essential content of the course using the right tools for the job. Learn from real work problems and invite experts to provide knowledge including continuously transferring work experience in the field of artificial intelligence. For aspects of curriculum work, graduate characteristics are assessed according to the learning objectives and standards in all 5 areas of the curriculum; morality, ethics, knowledge, and intellectual skills. In terms of interpersonal skills and responsibility and in the areas of numerical analysis, communication, and the use of information technology, it was found that the overall evaluation results were at a high level an average score of 4.02, emphasizing training in communication skills with others, assertiveness Don’t limit your thinking to just one box and have confidence in your own potential Able to think and solve computer problems by yourself. Rational problem-solving has continuous self-learning skills. From the evaluation results of the Bachelor of Science program (Artificial Intelligence). Overall, the curriculum is appropriate at a high level. The research results can be used as guidelines for further improvement at a high level. The research results can be used as guidelines for further improvement and development of the curriculum. |
|
dc.description.sponsorship |
การวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนจากมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีการศึกษา 2566 |
en |
dc.language.iso |
th |
en |
dc.publisher |
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ |
en |
dc.subject |
การประเมินหลักสูตร |
en |
dc.subject |
Evaluation cirriculum |
en |
dc.subject |
ปัญญาประดิษฐ์ -- หลักสูตร |
en |
dc.subject |
Artificial intelligence -- Curricula. |
en |
dc.subject |
ปัญญาประดิษฐ์ -- การศึกษาและการสอน |
en |
dc.subject |
Artificial intelligence -- Study and teaching. |
en |
dc.title |
การประเมินหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาปัญญาประดิษฐ์ (หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2563) คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ |
en |
dc.title.alternative |
The Evaluation of Artificial Intelligence Curriculum: Bachelor’s Degree Programme (2020), Science and Technology Faculty, Huachiew Chalermprakiet University |
en |
dc.type |
Technical Report |
en |