DSpace Repository

ภาพสะท้อนสังคมไทยในนวนิยายรางวัลซีไรต์ พ.ศ. 2546-2561

Show simple item record

dc.contributor.author Wei Wanlu
dc.contributor.author พัชรินทร์ บูรณะกร
dc.contributor.author Patcharin Buranakorn
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Arts. Student of Master of Liberal Arts. en
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Arts en
dc.date.accessioned 2024-11-03T03:51:05Z
dc.date.available 2024-11-03T03:51:05Z
dc.date.issued 2019
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3205
dc.description การประชุมวิชาการระดับชาติ พหุวิทยากรแห่งภาษา วรรณกรรม และคติชนวิทยา วิถีไทย วิถีอาเซียน ครั้งที่ 1 ประจำปี 2552 วันที่ 20 ธันวาคม 2562 ณ อาคารบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง : หน้า 199-208. en
dc.description สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็ม (Full text) ได้ที่ : http://hugiswh.lpru.ac.th/human/views/Proceedings/LPRU2019-1.pdf en
dc.description.abstract การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ภาพสะท้อนสังคมไทยในนวนิยายที่ได้รับรางวัล ซีไรต์ พ.ศ.2546-2561 โดยวิเคราะห์ภาพสะท้อนสังคมไทยในนวนิยายที่ได้รับรางวัลซีไรต์ พ.ศ.2546-2561 จำนวน 6 เล่ม ได้แก่ ช่างสำราญ ความสุขของกะทิ ลับแล,แก่งคอย คนแคระ ไส้เดือน ตาบอดในเขาวงกต และพุทธศักราชอัสดงกับทรงจำของทรงจำของแมวกุหลาบดำ ผลการวิจัย พบว่า นวนิยายรับรางวัลซีไรต์ พ.ศ. 2546-2561 สะท้อนภาพสังคมไทย 4 ด้าน ได้แก่ 1) ภาพสะท้อนด้านวิถีชีวิตความเป็นอยู่ คนในสังคมชนบทมี่วิถีชีวิตที่อาศัยสภาพแวดล้อมตาม ธรรมชาติเป็นหลักและเป็นความเป็นอยู่อย่างเรียบง่าย 2) ภาพสะท้อนด้านเศรษฐกิจ เศรษฐกิจในสังคม ชนบทไม่ค่อยดี คุณภาพของชีวิตยังอยู่ในระดับต่ำ รายได้ที่ได้รับไม่สามารถเลี้ยงดูแลคนในครอบครัวได้ 3) ภาพสะท้อนด้านการศึกษา คนในสังคมชนบทไม่ค่อยมีโอกาสไปเรียนหนังสือที่โรงเรียน 4) ภาพสะท้อน ด้านวัฒนธรรมไทย มีค่านิยมเกี่ยวกับผู้ชายเป็นใหญ่ในครอบครัว มีความเชื่อเกี่ยวกับเทวดาที่คอย ช่วยเหลือมนุษย์เมื่อมนุษย์เผชิญความยากลำบาก en
dc.description.abstract This study aimed to analyze the reflections of Thai society in the SEA Write Award Winning novels during 2003 – 2018. Six novels were studied including Chang-sumran (So Joyful!), Kwam-suk-kong-gati (Gati’s Happiness), Lub-lae-Kang-coin; Kon-krae (Dwarves), Sai-duen-ta-bord-nai-kao-wong-kot (A Blind Worm in the Labyrinth) and Buddha-sakarach-asadong-kub-song-jum-knog-song-jum-kong-meow-kulab-dum (The Sunset Buddha Era and Memories of the Black Rose Cat’s Memories). The results showed that four aspects of Thai society were reflected as the followings. The first reflection was about the rural people’s ways of lives. They made a living naturally and had a simple life. Followed by the reflection of the rural economy, most rural people were poor and unable to earn enough income to support their families. Moreover, the results also showed that rural people did not have an opportunity to access higher education. Lastly, the reflection of Thai culture was found. To clarify, Thai men were more superior than women in their families. Moreover, rural people tended to depend on supernatural particularly the belief in an angle to help them whenever they got into problem. en
dc.language.iso th en
dc.rights คณะกรรมการบริหารหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง en
dc.subject รางวัลซีไรต์ en
dc.subject SEA Write Award en
dc.subject นวนิยาย -- ประวัติและวิจารณ์ en
dc.subject Thai fiction -- History and criticism en
dc.subject การวิเคราะห์เนื้อหา en
dc.subject Content analysis (Communication) en
dc.subject ปัญหาสังคม -- ไทย en
dc.subject ไทย -- ภาวะสังคม en
dc.subject Thailand -- Social conditions en
dc.subject สังคมไทย en
dc.title ภาพสะท้อนสังคมไทยในนวนิยายรางวัลซีไรต์ พ.ศ. 2546-2561 en
dc.title.alternative The Reflections of Thai Society in the SEA Write Award Winning Novels During 2003-2018 en
dc.type Proceeding Document en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account