DSpace Repository

วัฒนธรรมการแต่งกายแบบไทยย้อนยุคในสังคมปัจจุบัน

Show simple item record

dc.contributor.author Gao Wenjuan
dc.contributor.author พัชรินทร์ บูรณะกร
dc.contributor.author Patcharin Buranakorn
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Arts. Student of Master of Liberal Arts. en
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Liberal Arts en
dc.date.accessioned 2024-11-03T04:28:51Z
dc.date.available 2024-11-03T04:28:51Z
dc.date.issued 2019
dc.identifier.isbn 9786168074138
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3208
dc.description การประชุมวิชาการระดับชาติ พหุวิทยากรแห่งภาษา วรรณกรรม และคติชนวิทยา วิถีไทย วิถีอาเซียน ครั้งที่ 1 ประจำปี 2552 วันที่ 20 ธันวาคม 2562 ณ อาคารบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง : หน้า 427-441 en
dc.description สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็มได้ที่: http://hugiswh.lpru.ac.th/human/views/Proceedings/LPRU2019-1.pdf en
dc.description.abstract การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์แนวคิดเกี่ยวกับการแต่งกายแบบไทยย้อนยุคในสังคมปัจจุบัน โดยคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงจากผู้ที่ใกล้ชิดกับชุดไทย มีความรู้ ความเข้าใจกับชุดไทย จำนวน 5 กลุ่ม คือ เจ้าของธุรกิจที่ค้าขายเกี่ยวกับชุดไทยที่ ดิโอลด์ สยามช้อปปิ้ง พลาซ่า ย่านพาหุรัด พนักงานที่ใส่ชุดไทย ในการทำงาน เจ้าของ/พนักงานในบริษัทจัดงานแต่งงาน และเจ้าบ่าว/เจ้าสาวที่แต่งชุดไทยในงานแต่งงาน ประชาชนที่ใส่ชุดไทยไปเที่ยวเมืองมัลลิกาในปี พ.ศ. 2562 และเจ้าของร้านที่จัดแสดงในตลาดนัดผ้าซิ่นสานใจ ครั้งที่ 5 พ.ศ. 2562 เส้นสาย สีสัน อัศจรรย์ผ้าไทย ผลการวิจัย พบว่า คนไทยให้ความสำคัญกับการแต่งชุดไทย โดยมีแนวคิดกับการแต่งกายแบบไทยย้อยยุคในด้านรูปแบบการแต่งกาย คือ นิยมแต่งชุดไทยจิตรลดา และชุดไทย ประยุกต์ ซึ่งทำจากผ้าไหม หรือผ้าฝ้าย สีขึ้นอยู่กับลักษณะของงาน และแนวคิดในการจัดงาน ส่วนลวดลายจะ เลือกตามความชอบส่วนตัว ด้วยความงดงาม และความเรียบร้อยของชุดไทย คนไทยจึงเลือกแต่งกายด้วยชุดไทย ในงานพระราชพิธี โอกาสสำคัญต่าง ๆ และในการทำงาน แม้กระทั่งในชีวิตประจำวัน ดังนี้ ความทันสมัย ลักษณะ ของเนื้อผ้าที่พัฒนาขึ้น และความสะดวกสบายต่อการสวมใส่เป็นปัจจัยสำคัญที่มีอิทธิพลต่อผู้สวมใส่ในการเลือกชุด ไทยในปัจจุบัน en
dc.description.abstract This research aimed to analyze ideas of Thai retro dressing culture in the present society. Five purposively selected sample group involving Thai retro dressing were studied namely a business owner of Thai retro dressing shop at the Old Siam Shopping Plaza, Pahurad area including company employees who also wore Thai retro dress on duties, an owner and employees of a wedding organizer offering Thai retro dress for the groom and the bride, the groom and the bride who wore Thai retro dress at a wedding ceremony, participants who dressed Thai retro dress for a trip to Muang Mallika in 2019 and a business owner who demonstrated products in the fifth San-Jai Thai Cloth Market Fair in 2019. Based on dressing style, the results showed that the most popular Thai retro dress were Chitralada and modern Thai dress. Besides, colors of these particular dress were up to the themes of the events. Pattern styles were chosen according to personal preference. Moreover, people chose to wear Thai retro dress for special occasions and work places because of being charming and elegant. At present, Thai cloth is developed to be more wearable and convenient. This is the main factor encouraging modern Thai to wear Thai retro dresses that Thai people are proud of Thai retro costume and its importance. en
dc.language.iso th en
dc.rights คณะกรรมการบริหารหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง en
dc.subject ชาตินิยมกับเสื้อผ้า en
dc.subject Nationalism and clothing en
dc.subject เสื้อผ้าและการแต่งกาย – ไทย en
dc.subject Clothing and dress – Thailand en
dc.subject เครื่องแต่งกาย – ไทย en
dc.subject Costume – Thailand en
dc.subject วัฒนธรรมไทย en
dc.subject Culture – Thailand en
dc.subject ไทย – ภาวะสังคม en
dc.subject Thailand -- Social conditions en
dc.subject สังคมไทย en
dc.title วัฒนธรรมการแต่งกายแบบไทยย้อนยุคในสังคมปัจจุบัน en
dc.title.alternative The Study of Thai Retro Dressing Culture in the Present Society en
dc.type Proceeding Document en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account