DSpace Repository

บทบาทของภาวะผู้นำในการต่อต้านการทุจริตในเขตพื้นที่สถานีตำรวจนครบาล

Show simple item record

dc.contributor.author วุฒิชัย เต็งพงศธร
dc.contributor.author นิก สุนทรธัย
dc.contributor.author Wuthichai Tengpongsthorn
dc.contributor.author Nick Soonthorndhai
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Law en
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Law en
dc.date.accessioned 2024-11-05T01:40:36Z
dc.date.available 2024-11-05T01:40:36Z
dc.date.issued 2023
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3220
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาทของภาวะผู้นำของเจ้าหน้าที่ตำรวจในเขตพื้นที่สถานีตำรวจนครบาล เพื่อศึกษาพฤติกรรมการต่อต้านการทุจริตของเจ้าหน้าที่ตำรวจในเขตพื้นที่สถานีตำรวจนครบาลและบทบาทของภาวะผู้นำในการต่อต้านการทุจริตของเจ้าหน้าที่ตำรวจในเขตพื้นที่สถานีตำรวจนครบาล โดยเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ซึ่งคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบกลุ่มและการสุ่มแบบง่าย จากสถานีตำรวจที่สังกัดกองบังคับการตำรวจนครบาล 9 เขต รวม 405 คน ผลการสำรวจ พบว่า 1. บทบาทของภาวะผู้นำของเจ้าหน้าที่ตำรวจในเขตพื้นที่สถานีตำรวจนครบาลปรากฏ ผลการศึกษาว่า ภาพรวมทั้ง 7 ด้าน อยู่ในระดับปานกลางทุกด้าน (ค่าเฉลี่ย = 3.10) เมื่อจำแนกเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ การทำให้เป็นผู้นำตนเอง (ค่าเฉลี่ย = 3.41) รองลงมาคือ การสนับสนุนให้เกิดผู้นำตนเองโดยการสร้างทีมงาน (ค่าเฉลี่ย = 3.23) การสร้างรูปแบบความคิดทางบวก (ค่าเฉลี่ย = 3.19) กระตุ้นให้ผู้ตามตั้งเป้าหมายด้วยตนเอง (ค่าเฉลี่ย = 2.97) การอำนวยความสะดวกให้เกิดภาวะผู้นำตนเองโดยการให้รางวัลและตำหนิอย่างสร้างสรรค์ (ค่าเฉลี่ย = 2.94) ผู้นำแสดงเป็นแบบฉบับของการเป็นผู้นำตนเอง (ค่าเฉลี่ย = 2.92) การอำนวยความสะดวกให้เกิดวัฒนธรรมของผู้นำตนเอง (ค่าเฉลี่ย = 2.88) 3. พฤติกรรมการต่อต้านการทุจริตของเจ้าหน้าที่ตำรวจในเขตพื้นที่สถานีตำรวจนครบาล ปรากฏผลการศึกษาว่า ภาพรวมทั้ง 5 ด้าน อยู่ในระดับปานกลางทุกด้าน (ค่าเฉลี่ย = 2.96) เมื่อจำแนกเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ตรวจสอบและประเมินผลการต่อต้านการทุจริตในส่วนราชการ(ค่าเฉลี่ย = 3.21) รองลงมาคือ ขับเคลื่อนคุณธรรมให้เกิดขึ้นแก่หน่วยงานด้วยความภูมิใจ (ค่าเฉลี่ย = 3.05) พัฒนากระบวนงานทีเน้นความเสมอภาค โปร่งใส เป็นธรรม (ค่าเฉลี่ย = 2.91) สร้างจิตสำนึกด้านคุณธรรมจริยธรรม (ค่าเฉลี่ย = 2.86) การมีส่วนร่วมเพื่อเป็นแบบอย่างให้เกิดผลในทางปฏิบัติ (ค่าเฉลี่ย = 2.72) 3. ผลการวิเคราะห์ข้อมูลบทบาทของภาวะผู้นำในการต่อต้านการทุจริตของเจ้าหน้าที่ตำรวจในเขตพื้นที่สถานีตำรวจนครบาล พบว่า บทบาทของภาวะผู้นำทุกด้านมีความสัมพันธ์ในเชิงบวกกับการต่อต้านการทุจริตอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 ซึ่งเป็นไปตามสมมุติฐานที่ตั้งไว้คือ บทบาทของภาวะผู้นำมีความสัมพันธ์ในเชิงบวกกับพฤติกรรมการต่อต้านการต่อต้านการทุจริตของเจ้าหน้าที่ตำรวจในเขตพื้นที่สถานีตำรวจนครบาล en
dc.description.abstract The Objective of this research is to study the role of Leadership of police officers, anti-corruption behavior, and the role of leadership in Anti-Corruption in Bangkok Metropolitan Bureau. The methodology in this research is the quantitative research. For acquiring target samples of 405 people, both cluster/systematic sampling and simple random sampling are means to select them from many police stations under control of Metropolitan Police Bureau 1-9. The survey showed that : 1. The role of leadership of police officers in the Metropolitan Police Station area appears that all 7 aspects were at a moderate level in every aspect (Mean = 3.10), when classified by aspect, it was found that the aspect with the highest average was self-leadership (Mean = 3.41), Second is the supporting self-leadership through team building (Mean = 3.23), the creating a positive thought (Mean = 3.19), the encourage followers to set goals for themselves (Mean = 2.97). The facilitating self-leadership through constructive rewards and criticism (Mean = 2.94), the leaders demonstrate a model of self-leadership (Mean = 2.92). and the Facilitating a culture of self-leadership (Mean = 2.88). 2. The Anti-corruption behavior of police officers in the Metropolitan Police Station area appears that all 5 aspects were at a moderate level in every aspect (Mean = 2.96), when classified by aspect, it was found that the aspect with the highest average was the inspect and evaluate anti-corruption results in government agencies (Mean = 3.21), Second is the driving morality into the organization with pride (Mean = 3.05), develop procedures that emphasize equality, transparency, and fairness (Mean = 2.91), the create awareness of morality and ethics (Mean = 2.86),, and the participation to set an example for practical results (Mean = 2.72). 3. The results of data analysis of the role of leadership in anti-Corruption in Bangkok Metropolitan Bureau found that. every aspect of leadership's role has a positive relationship with anti-corruption at a statistical significance of 0.05, which is according to the assumptions of the hypotheses. en
dc.description.sponsorship การวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนจากมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีการศึกษา 2565 en
dc.language.iso th en
dc.publisher มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ en
dc.subject ภาวะผู้นำ en
dc.subject Leadership en
dc.subject ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง en
dc.subject Transformational leadership en
dc.subject การทุจริตและประพฤติมิชอบ en
dc.subject Corruption en
dc.subject สถานีตำรวจนครบาล en
dc.subject Metropolitan Police Bureau en
dc.subject ตำรวจนครบาล en
dc.subject Metropolitan police en
dc.title บทบาทของภาวะผู้นำในการต่อต้านการทุจริตในเขตพื้นที่สถานีตำรวจนครบาล en
dc.title.alternative The Role of Leadership in Anti-Corruption in Bangkok Metropolitan Bureau en
dc.type Technical Report en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account