dc.contributor.author |
พัชรา โพชะนิกร |
|
dc.contributor.author |
ชุติระ ระบอบ |
|
dc.contributor.author |
มรกต กำแพงเพชร |
|
dc.contributor.author |
ณภัทร ศรีนวล |
|
dc.contributor.author |
Patchara Phochanikorn |
|
dc.contributor.author |
Chutira Rabob |
|
dc.contributor.author |
Morakhot Kamphaengphet |
|
dc.contributor.author |
Napat Srinual |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration |
en |
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration |
en |
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration |
en |
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration |
en |
dc.date.accessioned |
2024-11-05T05:01:33Z |
|
dc.date.available |
2024-11-05T05:01:33Z |
|
dc.date.issued |
2023 |
|
dc.identifier.uri |
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3224 |
|
dc.description.abstract |
รายงานการวิจัยเรื่องอิทธิพลของโลจิสติกส์เพื่อสิ่งแวดล้อมต่อผลการดำเนินงานภายใต้หลักเศรษฐกิจหมุนเวียนของอุตสาหกรรมอาหารสำเร็จรูปในประเทศไทย การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลการดำเนินงานภายใต้หลักเศรษฐกิจหมุนเวียนของอุตสาหกรรมอาหารสำเร็จรูปในประเทศไทย การวิจัยนี้ได้สันนิษฐานว่าการดำเนินงานภายใต้หลักเศรษฐกิจหมุนเวียนจะให้ผลลัพธ์ประสิทธิภาพที่ดีที่สุด หากมีการสนับสนุนแนวปฏิบัติด้านการจัดการโลจิสติกส์เพื่อสิ่งแวดล้อม การสร้างความสัมพันธ์ร่วมกันกับลูกค้า และการสร้างประสิทธิภาพในการดำเนินการผลิต การวิจัยนี้ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการรวบรวมจากผู้ประกอบการธุรกิจอาหารสำเร็จรูปในประเทศไทยจำนวนทั้งสิ้น 400 ราย นอกจากนี้ยังใช้ PLS(SEM) เพื่อประเมินความน่าเชื่อถือและความถูกต้องของโครงสร้าง ตลอดจนตรวจสอบการเชื่อมโยงที่ตั้งสมมติฐานไว้การค้นพบของการศึกษานี้บ่งชี้ว่าว่าโลจิสติกส์เพื่อสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลดีต่อผลการดำเนินงานภายใต้หลักเศรษฐกิจหมุนเวียนของธุรกิจอาหารสำเร็จรูปทั้งทางตรงและทางอ้อม โดยปัจจัยคั่นกลางทั้งสองตัวได้แก่การบูรณาการกับลูกค้า และประสิทธิภาพการผลิตมีบทบาทในการเสริมสร้างความสำเร็จและความมั่นคงของธุรกิจภายใต้หลักการเศรษฐกิจหมุนเวียน ผลการศึกษานี้เป็นประโยชน์ต่อภาคธุรกิจในการกำหนดแนวทางการวางกลยุทธ์ปรับปรุงกระบวนการในระบบโซ่อุปทานที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมภายใต้หลักเศรษฐกิจหมุนเวียน เช่น ประสิทธิภาพกระบวนการโลจิสติกส์ ลดของเสียและมลพิษ ตลอดจนช่วยเสริมช่องทางในการเข้าถึงนวัตกรรมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Green innovation) ที่สำคัญเพื่อยกระดับอุตสาหกรรมอาหารสำเร็จรูปในอนาคตและพัฒนาฐานการผลิตของผู้ประกอบการไทยให้รองรับโอกาสไปสู่ตลาดการค้าใหม่ในอนาคตได้อย่างยั่งยืนผลลัพธ์แสดงให้เห็นว่าปัจจัยด้านลอจิสติกส์เพื่อสิ่งแวดล้อมที่สำคัญที่สุดคือบรรจุภัณฑ์สีเขียว ดังนั้นผู้ประกอบการธุรกิจอาหารสำเร็จรูปควรเน้นการใช้บรรจุภัณฑ์ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและแสดงข้อมูลดังกล่าวบนบรรจุภัณฑ์ให้ชัดเจน เช่น แสดงข้อความว่าฉลากนี้ผลิตจากกระดาษรีไซเคิลร้อยเปอร์เซ็นต์ ปัจจัยที่สำคัญรองลองมาได้แก่ การจัดซื้อจัดจ้างสีเขียว ผลิตภัณฑ์รีไซเคิล และการออกแบบเชิงนิเวศเศรษฐกิจตามลำดับ นอกจากนี้ผู้ประกอบการธุรกิจอาหารสำเร็จรูปควรส่งเสริมโอกาสทางธุรกิจด้วยการกำหนดโครงสร้างองค์กรในการดำเนินการ กำหนดตัวชี้วัดในการบริหารจัดการ และทำการวัดประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานที่ชัดเจน ผลการศึกษาสามารถเป็นประโยชน์ต่อภาคธุรกิจในการกำหนดแนวทางการวางกลยุทธ์ปรับปรุงกระบวนการในระบบโซ่อุปทานที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมภายใต้หลักเศรษฐกิจหมุนเวียน เช่น ประสิทธิภาพกระบวนการโลจิสติกส์ ลดของเสียและมลพิษ ตลอดจนช่วยเสริมช่องทางในการเข้าถึงนวัตกรรมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (Green innovation) ที่สำคัญเพื่อยกระดับอุตสาหกรรมอาหารสำเร็จรูปในอนาคตและพัฒนาฐานการผลิตของผู้ประกอบการไทยให้รองรับโอกาสไปสู่ตลาดการค้าใหม่ในอนาคตได้อย่างยั่งยืน |
en |
dc.description.abstract |
This study examined the factors influencing the firm performance under circular economy principle using Thailand packaged food industry context. We hypothesized that the firm performance under circular economy optimizes when process alignment exists in green logistics, customer integration, and production efficiency. We distributed the questionnaire survey to 400 entrepreneurs of packaged food enterprise in Thailand and analyzed the data via Partial Least Square Structural Equation Modeling (PLS-SEM) using SmartPLS 4.0 program. Reflective-formative model was employed and the reliability test, validity test, and hypothesis testing were conducted. The results confirmed that green logistics positively influence firm performance under circular economy principle directly and indirectly via the mediating roles of customer integration and production efficiency. The findings imply that customer integration and production efficiency play important roles in enhancing the operational success and firm stability. Our empirical results provide guidelines for entrepreneurs in strategic green supply chain management such as logistics efficiency, waste reduction, pollution prevention, green innovation access, all of which enable advancement in Thailand packaged food industry towards becoming a sustainable manufacturing base for the global markets.The empirical results implied that business operations under circular economy optimize when process alignment exists among all dimensions of the supply chain, specifically in the way that stimulate green logistics. Particularly, customer integration and production efficiency are two main channels that link green logistics to sustainable firm performance. Our investigation revealed that the most impactful factor is green packaging; therefore, packaged food entrepreneur should emphasize environmentally friendly packaging usage and promote this information to the customers. For instance, eye-catching message that the package is made from 100% recycled paper should be presented on the package. Next, green purchasing, recycled product, and eco-design is the second, third and fourth important factors. Besides, entrepreneurs should also concentrate on regulating the organizational structure, key performance indicator and performance evaluation that enable operation improvements and business opportunities. The results of this research provide guidelines for strategic planning for green supply chain operation under circular economy principles. is, logistics process efficiency, waste and pollution generation reduction, green innovation access are the pathways to advance packaged food industry in Thailand and augment Thailand manufacturing base to sustainably respond to the global demand. |
en |
dc.description.sponsorship |
ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ ปีการศึกษา 2565 |
en |
dc.language.iso |
th |
en |
dc.publisher |
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ |
en |
dc.subject |
เศรษฐกิจหมุนเวียน |
en |
dc.subject |
Circular economy |
en |
dc.subject |
การขนส่งสินค้า |
en |
dc.subject |
Transportation |
en |
dc.subject |
Shipment of goods |
en |
dc.subject |
การบริหารงานโลจิสติกส์ |
en |
dc.subject |
Business logistics |
en |
dc.subject |
ผลิตภัณฑ์สีเขียว |
en |
dc.subject |
Green products |
en |
dc.subject |
อุตสาหกรรมอาหารสำเร็จรูป |
en |
dc.subject |
Packaged food industry |
en |
dc.subject |
อาหารพร้อมทาน |
en |
dc.subject |
Ready-to-eat food |
en |
dc.title |
อิทธิพลของโลจิสติกส์เพื่อสิ่งแวดล้อมต่อผลการดำเนินงานภายใต้หลักเศรษฐกิจหมุนเวียนของอุตสาหกรรมอาหารสำเร็จรูปในประเทศไทย |
en |
dc.title.alternative |
The Influence of Green Logistics towards the Business Performance under Circular Economy Principles of the Packaged food Industry in Thailand |
en |
dc.type |
Technical Report |
en |