DSpace Repository

การสำรวจความชุกพยาธิเข็มหมุดในเด็ก อำเภอบางน้ำเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา ประเทศไทย

Show simple item record

dc.contributor.author บังอร ฉางทรัพย์
dc.contributor.author อดิเทพ เปียปิ่นทอง
dc.contributor.author บุษบา พุทธานันทเดช
dc.contributor.author จิตตินันท์ กายทอง
dc.contributor.author พรพิมล กาญจนวาศ
dc.contributor.author อัญชลี ชุ่มบัวทอง
dc.contributor.author จันเพ็ญ บางสำรวจ
dc.contributor.author Bangon Changsap
dc.contributor.author Aditep Piapinthong
dc.contributor.author Bussaba Puttanantadet
dc.contributor.author Jittinan Kaythong
dc.contributor.author Pornpimon Kanjanavas
dc.contributor.author Anchalee Choombuathong
dc.contributor.author Janpen Bangsumruaj
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology en
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology en
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology en
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology en
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology en
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology en
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology en
dc.date.accessioned 2024-11-12T04:01:56Z
dc.date.available 2024-11-12T04:01:56Z
dc.date.issued 2021
dc.identifier.citation วารสารควบคุมโรค 47 ฉบับเพิ่มเติมที่ 1 (ก.ค.-ก.ย. 2564) : 839-847 en
dc.identifier.other DOI: 10.14456/dcj.2021.73
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3253
dc.description สามารถเข้าถึงบทความฉบับเต็ม (Full text) ได้ที่ : https://he01.tci-thaijo.org/index.php/DCJ/article/view/245974/170378 en
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์นี้เพื่อสำรวจความชุกพยาธิเข็มหมุดในเด็ก อำเภอบางน้ำเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา และวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างการติดเชื้อพยาธิเข็มหมุดกับปัจจัยที่เกี่ยวข้องรวมทั้งการเปรียบเทียบความเสี่ยงของการติดเชื้อพยาธิเข็มหมุดระหว่างเด็กเพศชายและเพศหญิง โดยทำการตรวจหาไข่พยาธิเข็มหมุดด้วยวิธีสกอตเทปเทคนิคในเด็กช่วงอายุ 5-10 ปี ในโรงเรียนประถมศึกษา 6 แห่ง อำเภอบางน้ำเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2560 เด็กที่ได้รับการตรวจ จำนวน 500 คน ส่วนใหญ่เป็นเด็กเพศหญิง (จำนวน 265 คน) ผลการตรวจพบความชุกพยาธิเข็มหมุด ร้อยละ 3.40 เป็นเพศชาย ร้อยละ 5.53 เพศหญิง ร้อยละ 1.51 ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างการติดเชื้อพยาธิเข็มหมุดกับปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับเด็ก (อาการคันก้น การตื่นนอนตอนกลางคืน) และปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับผู้ปกครองเด็ก (อายุ พื้นเพดั้งเดิม สถานะทางเศรษฐกิจและสังคม และพฤติกรรมการป้องกันโรคพยาธิลำไส้ของผู้ปกครองเด็ก) ไม่มีความสัมพันธ์กับ การติดเชื้อพยาธิเข็มหมุด (p >0.05) เมื่อวิเคราะห์เพื่อเปรียบเทียบความเสี่ยงของการติดเชื้อพยาธิเข็มหมุดระหว่างเพศชายและเพศหญิง พบว่าเด็กเพศชายมีความเสี่ยงของการติดเชื้อพยาธิเข็มหมุดมากกว่าเพศหญิง (OR=3.82; 95% CI=1.22-11.88; p=0.02) จากผลการวิจัยแสดงให้เห็นว่ายังคงมีการแพร่ระบาดของพยาธิเข็มหมุดในเด็ก อำเภอบางน้ำเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา ดังนั้นควรมีการสำรวจเพิ่มเติมและให้การรักษา รวมทั้งหาแนวทางในการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคพยาธิเข็มหมุด ในพื้นที่ต่อไป en
dc.description.abstract This study aimed to investigate the prevalence of Enterobius vermicularis (E. vermicularis) among children in Bang Nam Priao district, Chachoengsao province. The relationship between E. vermicularisinfection and related factors were analyzed as well as a comparison of the risk of E. vermicularis infection between boys and girls. Detection of E. vermicularis eggs by scotch tape technique among children aged 5-10 years in 6 schools in Bang Nam Priao district, Chachoengsao province in September 2017. A total of 500 children were examined, most of them were girls (265). The overall prevalence of E. vermicularis was 3.40% (17/500) with 5.53% (13/235) in boys and 1.51% (4/265) in girls. The analysis between E. vermicularis infection and the factors of children (anal itching, nocturnal awakening) and parents (age, primitive background, socioeconomic status, prevention behavior of intestinal parasites) were not correlated with the E. vermicularis infection (p>0.05). The results of an analysis to compare the risk of E. vermicularisinfection between boys and girls revealed that boys were at higher risk of E. vermicularis infection than girls. (OR = 3.82; 95% CI =1.22-11.88 ; p=0.02). However, the results revealed that there is still an outbreak of E.vermicularis among children in Bang Nam Priao district, Chachoengsao province. Therefore, further investigation and treatment should be conducted and ways to prevent and control the spread of E. vermicularis in this area should be found. en
dc.language.iso th en
dc.subject พยาธิเข็มหมุด en
dc.subject พยาธิเส้นด้าย en
dc.subject Enterobius en
dc.subject เด็ก -- ไทย -- ฉะเชิงเทรา en
dc.subject Children -- Thailand -- Chachoengsao en
dc.subject ปรสิตวิทยา en
dc.subject Parasitology en
dc.subject บางน้ำเปรี้ยว (ฉะเชิงเทรา) en
dc.subject Bang Nam Priao (Chachoengsao) en
dc.subject โรคหนอนพยาธิในเด็ก en
dc.subject Helminthiasis in children en
dc.title การสำรวจความชุกพยาธิเข็มหมุดในเด็ก อำเภอบางน้ำเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา ประเทศไทย en
dc.title.alternative Survey on prevalence of Enterobius vermicularis among children in Bang Nam Priao district, Chachoengsao province, Thailand en
dc.type Article en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account