DSpace Repository

การสกัดเจลาตินจากเกล็ดปลาสลิดที่เป็นชิ้นส่วนเหลือใช้หลังกระบวนการแปรรูปปลาสลิด

Show simple item record

dc.contributor.author ชวนพิศ จิระพงษ์
dc.contributor.author อลิษา สุนทรวัฒน์
dc.contributor.author พรพิมล กาญจนวาศ
dc.contributor.author ชัยรัตน์ เตชวุฒิพร
dc.contributor.author Chaunpis Jirapong
dc.contributor.author Alisa Soontornwat
dc.contributor.author Pornpimon Kanjanavas
dc.contributor.author Chairat Techavuthiporn
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology en
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology en
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology en
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Science and Technology en
dc.date.accessioned 2025-01-11T09:13:03Z
dc.date.available 2025-01-11T09:13:03Z
dc.date.issued 2020
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3493
dc.description.abstract สารสกัดเจลาตินจากเกล็ดปลาสลิด (Trichogoster pectoralis) โดยใช้กระบวนการสกัดด้วยด่างความเข้มข้นต่ำ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาความเข้มข้นของโซเดียมไฮดรอกไซด์ที่เหมาะสมในกระบวนการผลิจเจลาติน พบว่า เจลาตินที่ผลิตได้จากเกล็ดปลามีสีเหลืองอ่อนใสและมีกลิ่นคาวปลาเล็กน้อย การใช้โซเดียไฮดรอกไซด์ 0.3 เปอร์เซ็นต์ แช่เกล็ดปลาเป็นเวลา 1 และ 3 ชั่วโมง จะให้ปริมาณผลผลิตเจลาตินเท่ากับ 9.86 เปอร์เซ็นต์ และ 9.44 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ และให้ความหนืดสูงที่ 368 RVU จากเจลาตินที่สกัดได้จากเกล็ดปลาโดยใช้โซเดียมไฮดรอกไซด์ 0.3 เปอร์เซ็นต์ในเวลา 3 ชั่วโมง อย่างไรก็ตามการใช้สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ 0.1 เปอร์เซ็นต์ ในการสกัดจะได้เจลที่เหลวใส และใช้ระยะเวลา 13 วินาที ที่อุณหภูมิ 23 องศาเซลเซียส ในการขึ้นรูปของเจลาติน ทั้งนี้สมบัติของเจลาตินที่สกัดได้จากเกล็ดปลาสลิดมีความเหมาะสมในการนำไปประยุกต์ใช้ในผลิตภัณฑ์อาหาร en
dc.description.abstract Gelatin was extracted from scale of Snakeskin gourami (Trichogaster pectoralis) fish by low alkaline extraction process. The aim of the study was to determine the optimal conditions for preparing gelatin using different sodium hydroxide concentrations. Results showed that the fish gelatin were slight yellow-white colour, translucent, light textured in appearance and least of fishy odour. The yield of gelatin extraction from 0.3% sodium hydroxide as possessed for 1 and 3 hours soaking time were 9.86% and 9.44%, respectively. The highest viscosity value 368 RVU of gelatin was obtained from fish scale by use 0.3% sodium hydroxide soaking for 3 hours. However, in preliminary treatment that used 0.1% sodium hydroxide solution, clearly liquid gel with higher setting temperature at 23 °C and minimum setting time of 13 seconds was obtained. en
dc.description.sponsorship การวิจัยนี้ได้รับทุนอุดหนุนจากมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติปีการศึกษา 2557 en
dc.language.iso th en
dc.publisher มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ en
dc.subject เจลาติน en
dc.subject การใช้ของเสียให้เป็นประโยชน์ en
dc.subject ผลิตภัณฑ์พลอยได้ en
dc.subject เกล็ดปลาสลิด en
dc.subject เกล็ดปลา -- การนำกลับมาใช้ใหม่ en
dc.subject ปลาสลิด en
dc.subject Gelatin en
dc.subject Recycling (Waste, etc.) en
dc.subject Waste products en
dc.subject Trichogoster pectoralis en
dc.subject Fish scale -- Recycling en
dc.subject Snakeskin gourami en
dc.title การสกัดเจลาตินจากเกล็ดปลาสลิดที่เป็นชิ้นส่วนเหลือใช้หลังกระบวนการแปรรูปปลาสลิด en
dc.title.alternative Extraction of Gelatin from Snakeskin gourami Fish Scale Processing Wastes en
dc.type Technical Report en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account