DSpace Repository

การประยุกต์ใช้เทคนิค FMEA (Failure Mode and Effect Analysis) เพื่อลดปริมาณผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพไม่เป็นไปตามข้อกำหนดในกระบวนการผลิตคอนกรีตทนไฟ

Show simple item record

dc.contributor.advisor วิชุตา อยู่ยงค์
dc.contributor.advisor Wichuta Youyong
dc.contributor.author นาฏย์รพี เขียนทองหลาง
dc.contributor.author Natraphee Keanthonglang
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration
dc.date.accessioned 2025-01-26T04:39:19Z
dc.date.available 2025-01-26T04:39:19Z
dc.date.issued 2011
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3568
dc.description การศึกษาอิสระ (บธ.ม.) (การจัดการอุตสาหกรรม) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2554 en
dc.description.abstract โรงงานกรณีศึกษาที่ทำการศึกษาในครั้งนี้เป็นโรงงานผลิตและจัดจำหน่ายวัสดุทนไฟและวัสดุสิ้นเปลือง รวมทั้งให้บริการด้านซ่อมบำรุงสำหรับเตาหลอมในภาคอุตสาหกรรมมีคอนกรีตทนไฟ เป็นผลิตภัณฑ์หลักปัจจุบันประสบปัญหาคุณภาพ เนื่องจากคอนกรีตทนไฟมีปัญหาการกระจายตัวของ Bauxites ไม่เป็นไปตามข้อกำหนด ระหว่างปี 2550-2552 มีจำนวนของเสียเกิดขึ้นประมาณ 3% - 4% คิดเป็นมูลค่าประมาณ 1.2 ล้านบาทต่อปี ดังนั้น วัตถุประสงค์ของการศึกษาในครั้งนี้ คือ ปรับปรุงกระบวนการผลิตคอนกรีตทนไฟเพื่อลดจำนวนของเสีย การดำเนินงานเริ่มจากศึกษา กระบวนการผลิต วิเคราะห์หาสาเหตุโดยใช้แผนภาพสาเหตุและผล จากนั้นทำการวิเคราะห์ลักษณะ ข้อบกพร่องและผลกระทบสำหรับกระบวนการผลิต แล้วค้นหาแนวทางแก้ไขที่สามารถนำไปปฏิบัติงานได้จริง พบว่า มี 3 สาเหตุที่ควรเร่งทำการแก้ไข คือ พนักงานใส่สารผิดสูตร พนักงานหยิบวัตถุดิบผิด และคอนกรีตทนไฟตกค้างในท่อทางเดินบรรจุ ดำเนินการแก้ไขข้อบกพร่อง โดยการพัฒนาแบบฟอร์มเอกสารวิธีการประเมินทักษะพนักงานตลอดจนเอกสารวิธีการปฏิบัติงานและแผนการฝึกอบรมพนักงาน ก่อนปรับปรุง 1 เดือน (ธ.ค.53) มีผลิตภัณฑ์คอนกรีตทนไฟมีคุณภาพไม่เป็นไปตามข้อกำหนด 0.75 ตัน คิดเป็นเงิน 45,000 บาท หลังปรับปรุงเป็นเวลา 1 เดือน (ม.ค.54) มีผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพไม่ตรงตามข้อกำหนด คือ 0.10 ตัน คิดเป็นเงิน 6,000 บาท ซึ่งลดลง 0.65 ตัน คิดเป็นเงิน 39,000 บาท และมีเปอร์เซ็นต์ผลิตของดี คือ 99.84% ซึ่งเป็นไปตามที่โรงงงานกรณีศึกษาได้กำหนดไว้ใน KPI คือ 99.80% en
dc.language.iso th en
dc.publisher มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ en
dc.rights มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ en
dc.subject คอนกรีต en
dc.subject Concrete en
dc.subject คอนกรีต -- คุณภาพ en
dc.subject Concrete -- Quality en
dc.subject วัสดุทนไฟ en
dc.subject Refractory materials en
dc.subject คอนกรีต -- การผลิต en
dc.subject Concrete -- Manufacture en
dc.subject การตรวจสอบทางวิศวกรรม en
dc.subject Engineering inspection en
dc.subject การควบคุมคุณภาพ en
dc.subject Quality control en
dc.subject การวิเคราะห์ความล้มเหลว (วิศวกรรมศาสตร์) en
dc.subject Failure analysis (Engineering) en
dc.subject Failure Mode and Effect Analysis en
dc.subject การวิเคราะห์ข้อบกพร่องและผลกระทบ en
dc.title การประยุกต์ใช้เทคนิค FMEA (Failure Mode and Effect Analysis) เพื่อลดปริมาณผลิตภัณฑ์ที่มีคุณภาพไม่เป็นไปตามข้อกำหนดในกระบวนการผลิตคอนกรีตทนไฟ en
dc.title.alternative Defect Reduction of Castable Refractory Process by FMEA (Failure Mode and Effect Analysis). en
dc.type Independent Studies en
dc.degree.name การจัดการอุตสาหกรรม en
dc.degree.level ปริญญาโท en
dc.degree.discipline บริหารธุรกิจ en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account