dc.contributor.advisor |
พนิต กุลศิริ |
|
dc.contributor.advisor |
Panid Kulsiri |
|
dc.contributor.author |
นิตยา เกิดพิทักษ์ |
|
dc.contributor.author |
Nittaya Kerdpitak |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration |
|
dc.date.accessioned |
2025-01-26T07:31:48Z |
|
dc.date.available |
2025-01-26T07:31:48Z |
|
dc.date.issued |
2002 |
|
dc.identifier.uri |
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3576 |
|
dc.description |
ภาคนิพนธ์ (บธ.ม.) (บริหารธุรกิจ) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2545 |
en |
dc.description.abstract |
การศึกษา เรื่องการเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาปัญหา และกลยุทธ์วิธีการแก้ปัญหา ในการดำเนินงานของธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด(มหาชน) และวิเคราะห์สถานการณ์ในการดำเนินงานของธนาคาร โดยประเมิน จากจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรคการศึกษาครั้งนี้ใช้วิธีการศึกษาโดยรวมรวมข้อมูลนโยบายและกลยุทธ์ในการดำเนินงานของธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) เปรียบเทียบกับข้อมูลของธนาคารอื่นๆ นำมาวิเคราะห์ เชิงพรรณนาโดยใช้ทฤษฎีต่างๆ ประกอบในการวิเคราะห์ผลการศึกษาพบว่า ถึงแม้ระบบธนาคารไทยจะได้ปรับตัวในช่วงที่ผ่านมาโดยต่อเนื่อง และมีความเข้มแข็งเพิ่มขึ้น แต่การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมทางธุรกิจการแข่งขัน นโยบายของรัฐบาลและหลักเกณฑ์การกำกับดูแล รวมทั้งผลกระทบจากความอ่อนไหวของสภาวะเศรษฐกิจ ส่งผลให้ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) ดำเนินงานยากขึ้น ดังจะเห็นได้จากการที่ธนาคาร ประสบกับปัญหาความไม่สมดุลย์ ระหว่างการขยายตัวของสินเชื่อและเงินฝาก นั่นคือ ธนาคารมีเงินฝากทยอยเพิ่มขึ้น แต่ธนาคารกลับปล่อยสินเชื่อใหม่ได้ลดลง เนื่องจากความพร้อมในการชำระหนี้ของลูกค้ายังมีไม่เพียงพอด้วย จึงทำให้การพิจารณาปล่อยสินเชื่อต้องทำด้วยความระมัดระวัง และธนาคารไทยพาณิชย์ต้องพยายามหาแหล่งลงทุนเพิ่มเติมเพื่อระบายสภาพคล่องหรือต้นทุนของธนาคารที่ต้องรับภาระอยู่ให้ได้มากที่สุดนอกจากนี้การเปิดเสรีทางการค้าในสาขาการเงิน ทำให้มีธนาคารต่างประเทศเข้ามาดำเนินธุรกิจในประเทศไทยได้ครบวงจรมากขึ้นจากที่เคยอนุญาตให้เปิดเพียงสาขาเท่านั้น รวมถึงการที่มีธนาคารพาณิชย์ต่างประเทศเข้ามาถือหุ้นใหญ่ และผู้ประกอบธุรกิจทางการเงินต่างชาติที่ไม่ใช่ธนาคารเข้ามาขยายธุรกิจในประเทศไทย ซึ่งธนาคารและผู้ประกอบการเหล่านี้มีเงินกองทุนสูง มีเทคโนโลยีที่ทันสมัย ทำให้มีความได้เปรียบกว่าธนาคารพาณิชย์ของไทย ซึ่งรวมถึงธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) ด้วย ธนาคารไทยพาณิชย์มีฐานลูกค้าที่กว้างกระจายอยู่ทั่วประเทศ จึงทำให้พบกับพฤติกรรมของลูกค้าที่หลากหลายยากต่อการเปลี่ยนแปลง ในขณะที่ธนาคารต่างชาติและธนาคารลูกครึ่งเน้นลูกค้าเฉพาะกลุ่ม การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลูกค้าจึงทำได้ ง่ายกว่า ดังนั้นธนาคารไทยพาณิชย์จึงต้องมีการประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้ในด้านต่าง ๆ แก่ลูกค้า เพิ่มขึ้น พร้อมทั้งจัดเตรียมองค์กรให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของสภาวะแวดล้อมทางธุรกิจ โดย เฉพาะการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันเพื่อให้อยู่รอดได้ในระยะยาว |
en |
dc.language.iso |
th |
en |
dc.publisher |
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ |
en |
dc.rights |
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ |
en |
dc.subject |
ธนาคารและการธนาคาร -- ไทย |
en |
dc.subject |
Banks and banking -- Thailand |
en |
dc.subject |
การจัดการธนาคาร |
en |
dc.subject |
Bank management |
en |
dc.subject |
สินเชื่อ |
en |
dc.subject |
Credit |
en |
dc.subject |
ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) -- การตลาด |
en |
dc.subject |
Siam Commercial Bank Public Company Limited -- Marketing |
en |
dc.title |
การเพิ่มศักยภาพทางการแข่งขัน : กรณีศึกษา ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) |
en |
dc.title.alternative |
Increasing the Competitive Potential : A Case Study of Siam Commercial Bank Public Company Limited. |
en |
dc.type |
Independent Studies |
en |
dc.degree.name |
บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต |
en |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
en |
dc.degree.discipline |
บริหารธุรกิจ |
en |