DSpace Repository

การเพิ่มประสิทธิภาพของกระบวนการชุบสีแบบ Electrophoretic deposition (EPD) : กรณีศึกษา บริษัท ยานภัณฑ์ ไดโซะ (ประเทศไทย) จำกัด

Show simple item record

dc.contributor.advisor พิษณุ วรรณกูล
dc.contributor.advisor Pitsanu Wannakul
dc.contributor.author พหล ทิพย์สุมณฑา
dc.contributor.author Pahol Tipsumontha
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration
dc.date.accessioned 2025-04-27T14:54:43Z
dc.date.available 2025-04-27T14:54:43Z
dc.date.issued 2008
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3828
dc.description การศึกษาอิสระ (บธ. ม.) (การจัดการอุตสาหกรรม) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2551 en
dc.description.abstract การศึกษาอิสระฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการชุบสีแบบ Electrophoretic Deposition (EPD) เพื่อเสนอแนวทางเพิ่มประสิทธิภาพของกระบวนการชุบสี EPD ของบริษัท ยานภัณฑ์ ไดโซะ (ประเทศไทย) จำกัด จากการศึกษาข้อมูลเกี่วกับขั้นตอนของกระบวนการชุบสี EPD โดยได้ทำการตรวจสอบมาตรฐานการชุบชองชิ้นงานแต่ละชนิดเพื่อหาแนวทางการปรับปรุงโดยใช้ทฤษฎีการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและทฤษฎีของการชุบสีแบบ EPD โดยพบหัวข้อที่สามารถปรับปรุงได้ คือ จำนวนการแขวนชิ้นงานเข้าชุบสีต่อครั้ง ผู้ศึกษาได้นำมาวิเคราะห์หาแนวทางปรับปรุงโดยใช้ทฤษฎีการชุบสีแบบ EPD รวมทั้งขอคำปรึกษาจากผู้ที่เกี่ยวข้องในแผนกชุบสี จากการศึกษาพบว่า การแขวนชิ้นงานเข้าชุบสีจะแขวนชิ้นงานชนิดเดียวกันต่อที่แขวนหนึ่งอัน ซึ่งชิ้นงานบางชนิดมีขนาดใหญ่ทำให้แขวนได้จำนวนหนึ่งและทำให้เหลือพื้นที่ว่างอยู่พอสมควร ทางผู้ศึกษาจึงได้เสนอแนวทางในการปรับปรุงจำนวนการแขวนชิ้นงานดังกล่าว คือ การแขวนชิ้นงานบางชนิดยังสามารถแขวนชิ้นงานชนิดอื่นรวมกันได้อีก เพื่อให้การชุบหนึ่งครั้งมีประสิทธิภาพเต็มข้อจำกัด ซึ่งแนวทางในการปรับปรุงที่ได้กล่าวมานั้น คาดว่าจะสามารถช่วยลดจำนวนการชุบของที่แขวนโดยยังได้จำนวนชิ้นงานในปริมาณเท่าเดิม ซึ่งทำให้เพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการชุบสีตามทฤษฎีการผลิต จากผลการศึกษาพบว่า สภาพปัจจุบันทางบริษัทฯ มีการผลิตชิ้นงานหลายชนิดทั้งขนาดเล็กและขนาดใหญ่ จากการศึกษากระบวนการชุบนีของบริษัทฯ พบว่ามีชิ้นงานบางชนิดที่มีการแขวนเข้าชุบสีไม่เต็มที่แขวน และจากการศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการแขวนชิ้นงานสามารถแขวนชิ้นงานรวมกันได้ โดยการนำชิ้นงานชนิดหนึ่งมาแขวนรวมกับชิ้นงานอีกชนิดหนึ่ง พื่อให้จำนวนการผลิตในการแขวนชิ้นงานลดลง ซึ่งชิ้นงานที่นำมาทำการศึกษา คือ ชิ้นงานที่ 1 และชิ้นงานที่ 2 มีจำนวนการผลิตเท่ากับ 20 ที่แขวนต่อวัน และ 16 ที่แขวนต่อวัน ตามลำดับ จากแนวทางในการปรับปรุงดังกล่าว สามารถทำให้จำนวนการผลิตของชิ้นงานที่ 2 ลดลงเหลือ 12 ที่แขวนต่อวัน คือลดลง 4 ที่แขวนต่อวัน เท่ากับจำนวนการผลิตชิ้นงานที่ 2 ลดลง 25 เปอร์เซ็ยต์ และสามารถนำแนวทางนี้ไปใช้ในการปรับปรุงชิ้นงานชนิดอื่น ที่มีการแขวนไม่เต็มที่แขวน เพื่อให้ประสิทธิภาพของการผลิตโดยรวมมีค่าสูงขึ้นได้อีก en
dc.language.iso th en
dc.publisher มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ en
dc.rights มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ en
dc.subject การชุบเคลือบผิวด้วยไฟฟ้า en
dc.subject Electroplating en
dc.subject อุตสาหกรรมรถยนต์ en
dc.subject Automobile industry and trade en
dc.subject การชุบโลหะด้วยไฟฟ้า en
dc.subject Electropherotic deposition en
dc.subject โลหะ – การกำจัดสนิม en
dc.subject Metals – Pickling en
dc.subject บริษัท ยานภัณฑ์ ไดโซะ (ประเทศไทย) จำกัด en
dc.subject Yarnapund Daiso (Thailand) Co.Ltd. en
dc.subject การควบคุมการผลิต en
dc.subject Production control en
dc.title การเพิ่มประสิทธิภาพของกระบวนการชุบสีแบบ Electrophoretic deposition (EPD) : กรณีศึกษา บริษัท ยานภัณฑ์ ไดโซะ (ประเทศไทย) จำกัด en
dc.title.alternative Increasing the Efficiency in Paint Coating Process Electrophoretic Deposition (EPD) : A Case Study of Yarnapund Daiso (Thailand) Co., Ltd. en
dc.type Independent Studies en
dc.degree.name บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต en
dc.degree.level ปริญญาโท en
dc.degree.discipline การจัดการอุตสาหกรรม en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account