DSpace Repository

การศึกษาการรับรู้ภาพลักษณ์เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ : กรณีศึกษา ผู้บริโภคในจังหวัดสมุทรปราการ

Show simple item record

dc.contributor.advisor พวงชมพู โจนส์
dc.contributor.advisor Puangchompoo Jones
dc.contributor.author ไพลิน ศรีวิไล
dc.contributor.author Pailin Seewilai
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration
dc.date.accessioned 2025-05-19T07:04:06Z
dc.date.available 2025-05-19T07:04:06Z
dc.date.issued 2015
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/3862
dc.description การศึกษาอิสระ (บธ.ม.) (บริหารธุกิจ) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2558 en
dc.description.abstract การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะด้านประชากรศาสตร์และปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับรู้ภาพลักษณ์เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพของผู้บริโภคในจังหวัดสมุทรปราการ กลุ่มเป้าหมาย ผู้บริโภคที่เคยบริโภคเครื่องดื่มเพื่อสุขภาพประเภทน้ำผักผลไม้ในจังหวัดสมุทรปราการ เท่านั้น จำนวน 400 คน โดยใช้วิธีวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วยการหาค่า T-test F-test ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson Product-Moment Correlation Coefficient)ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุอยู่ในช่วง 20-35 ปี มีรายได้ต่อเดือนอยู่ระหว่าง 10,000 – 30,000 บาท และมีระดับการศึกษาปริญญาตรี ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับรู้ภาพลักษณ์เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพด้านผลิตภัณฑ์ มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 3.60 ด้านราคา โดยเฉลี่ยมีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 3.52 ด้านการจัดจำหน่าย โดยเฉลี่ยมีความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง โดยมีค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 3.29 ด้านการจัดจำหน่าย โดยเฉลี่ยมีความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง โดยมีค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 3.29 ด้านการส่งเสริมการตลาด โดยเฉลี่ยมีความคิดเห็นอยู่ในระดับปานกลาง โดยมีค่าเฉลี่ยรวมเท่ากับ 3.29 ลักษณะทางประชากรศาสตร์ที่แตกต่างกัน ส่งผลต่อการรับรู้ภาพลักษณ์เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพของผู้บริโภคในจังหวัดสมุทรปราการที่แตกต่างกัน ในด้านสินค้าเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีเอกลักษณ์ที่โดดเด่นด้านสถาบันหรือองค์กรมีนโยบายในการบริหารจัดการองค์กรที่รับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมมีส่วนในการช่วยเหลือสังคม มีโครงการในการทำประโยชน์ให้กับสาธารณะ มีการบริหารจัดการที่โดดเด่นและเป็นเอกลักษณ์ และเป็นที่รู้จักและเป็นที่ยอมรับสังคม และด้านผู้บริหารมีความรู้ความสามารถในการบริหารจัดการองค์กรได้เป็นอย่างดีปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด มีความสัมพันธ์กับการรับรู้ภาพลักษณ์เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพของผู้บริโภค ที่ระดับนัยสำคัญ 0.01 เมื่อพิจารณาค่า r พบว่ามีค่าบวก ซึ่งมีความสัมพันธ์ไปในทิศทางเดียวกัน ดังนั้น ปัจจัยทางการตลาดที่ส่งผลต่อการรับรู้ภาพลักษณ์เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพสูง การรับรู้ภาพลักษณ์เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพจะสูงตามไปด้วย en
dc.description.abstract The research’s purpose is to study the demographic and marketing mix factors that have effects on perceiving the image of the healthy drink product of consumers in Samut Prakan province. The target group of sample consumers is people who consumed healthy drinks fruit and vegetable juice in Samut Prakan province which there are 400 people. The research is conducted by using quantitative research method, and statistic tools which are questionnaire T-test F-test, percentage, mean, and standard deviation and Pearson product-moment correlation coefficient.The result has shown that most of the respondents were female aged between 20-35 years old with monthly income between 10,000-30,000 baht and a bachelor’s degree. The marketing factors have effects on perceiving the image of healthy drink products at a high level in their opinion which has the total average of 3.60 un terms of price, 3.52 in terms of selling distribution, 3.29 in terms of promotion and marketing.Due to the different of demographic characteristics among samples, it affects the perceiving image of the healthy drink differently in terms of product’s distinctive identity, talented CEO in corporate management, and institutional or corporate policies for managing corporate social responsibility and environment that take part in social assistance, serve the public, managed distinctive and unique, and well-known from society as well.The marketing mix also has correlated with the perceiving image of the healthy drink in the level of 0.01. When considering the r value, it shows a positive value which mean they are associated in the same direction. In conclusion, the higher marketing factors affect the perceiving image of healthy drink in a higher level as well. en
dc.language.iso th en
dc.publisher มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ en
dc.rights มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ en
dc.subject ผู้บริโภค -- ไทย -- สมุทรปราการ en
dc.subject Consumers -- Thailand -- Samut Prakan en
dc.subject น้ำผลไม้ en
dc.subject Fruit juices en
dc.subject น้ำผัก en
dc.subject Vegetable juices en
dc.subject การรับรู้ en
dc.subject Perception en
dc.subject พฤติกรรมผู้บริโภค -- ไทย -- สมุทรปราการ en
dc.subject Consumer behavior -- Thailand -- Samut Prakan en
dc.subject ชื่อตราผลิตภัณฑ์ en
dc.subject Brand name products en
dc.subject เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ en
dc.title การศึกษาการรับรู้ภาพลักษณ์เครื่องดื่มเพื่อสุขภาพ : กรณีศึกษา ผู้บริโภคในจังหวัดสมุทรปราการ en
dc.title.alternative Image Perception of Healthy Drinks : A Case Study of Consumers in Samutprakan Province en
dc.type Independent Studies en
dc.degree.name บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต en
dc.degree.level ปริญญาโท en
dc.degree.discipline บริหารธุรกิจ en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account