DSpace Repository

การลดปริมาณของเสียในกระบวนการผลิตของอุตสาหกรรมเสื้อผ้าสำเร็จรูป : กรณีศึกษา บริษัท ฟูลมาร์ค เมนูแฟคเจอริ่ง จำกัด

Show simple item record

dc.contributor.advisor พรไพบูลย์ ปุษปาคม
dc.contributor.advisor Pornpaiboon Pushpakom
dc.contributor.author รัตนา ทองสุก
dc.contributor.author Ratana Thongsuk
dc.contributor.other Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration
dc.date.accessioned 2025-07-05T13:43:14Z
dc.date.available 2025-07-05T13:43:14Z
dc.date.issued 2008
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/4275
dc.description การศึกษาอิสระ (บธ. ม.) (การจัดการอุตสาหกรรม) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2551 en
dc.description.abstract การศึกษาอิสระฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษากระบวนการผลิตเสื้อผ้าสำเร็จรูปและหาสาเหตุที่ทำให้เกิดของเสียในกระบวนการผลิตของแผนกถักผ้าและเสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาที่ เกิดขึ้นในกระบวนการผลิตของบริษัทฟูลมารค์ เมนูแฟคเจอริ่ง จำกัด เพื่อเป็นแนวทางในการลด จำนวนของเสียที่เกิดขึ้น จากการศึกษาข้อมูลของเสียที่ได้จากกระบวนการผลิตของแผนกถักผ้า โดยได้ทำการเก็บ ข้อมูลย้อนหลัง และใช้แผนภูมิพาเรโตในการแสดงปริมาณของเสียที่เกิดขึ้นในแต่ละชนิดของ กระบวนการผลิตแล้วนำมาวิเคราะห์หาสาเหตุของการเกิดของเสียโดยใช้แผนภูมิเหตุและผลพบว่า ปัญหาที่สำคัญที่สุดที่ควรจะดำเนินการแก้ไขเป็นอันดับแรกในแผนกถักผ้า คือ ปัญหางานเปื้อน คราบสกปรก ไม่ว่าจะเกิดจากคราบน้ำมัน คราบสนิม เศษขี้ด้าย หรือฝุ่นละออง ซึ่งไม่สามารถนำ ชิ้นงานที่เปื้อนคราบสกปรกดังกล่าวมาใช้ในกระบวนการผลิตต่อไปได้ ผู้ศึกษาได้นำปัญหามา วิเคราะห์หาสาเหตุย่อย โดยจากการพิจารณาของผู้ศึกษาเอง รวมทั้งขอคำปรึกษาจากผู้ที่เกี่ยวข้อง ในแผนกถักผ้าแล้วนั้น การวิเคราะห์ได้ใช้แผนภูมิเหตุและผล จากการวิเคราะห์พบว่าสาเหตุที่ ก่อให้เกิดปัญหางานเปื้อนคราบสกปรกมีสาเหตุสำคัญมาจากเครื่องจักรในการทำงาน เนื่องจาก เครื่องจักรต้องทำงานตลอด 24 ชั่วโมง และเครื่องจักรมีอายุการใช้งานมานานกว่า 25 ปี แต่ขาด การดูแลรักษา ขาดการตรวจสอบอย่างสม่ำเสมอ ชิ้นส่วนอะไหล่ของเครื่องจักรชำรุดสึกหรอและ หมดอายุการใช้งาน ทางผู้ศึกษาจึงได้เสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาดังกล่าว ได้แก่ (1) การทำ ความสะอาดเครื่องจักรอย่างสม่ำเสมอ โดยจัดทำตารางการทำความสะอาดเป็นแนวทางในการ ตรวจสอบกำหนดเวลาในการทำความสะอาดชิ้นส่วนต่างๆ เช่น การทำความสะอาด ตะกรอของ เครื่องจักรทุกๆ 3 ชั่วโมง ก่อนที่จะเกิดความสกปรก (2) การปรับตั้ง/ปรับแต่งเครื่องจักรเพื่อให้เครื่องจักรอยู่ในสภาพที่พร้อมใช้งาน โดยจัดทำเป็นใบตรวจสอบเครื่องถักผ้าเพื่อเป็นแนวทางให้ พนักงานประจำเครื่องสามารถตรวจสอบสภาพโดยทั่วไปได้ด้วยตนเอง และ (3) การฟื้นฟูสภาพ โดยการเปลี่ยนอะไหล่เครื่องจักร ซึ่งได้จัดทำเป็นใบบันทึกจำนวนครั้งการแก้ไขเครื่องจักร อุปกรณ์เมื่อเกิดของเสียขึ้นเพื่อเป็นแนวทางที่จะสามารถรู้ถึงอายุการใช้งานของชิ้นส่วนอะไหล่ ต่างๆ ก่อนที่จะชำรุดเสียหาย ซึ่งแนวทางแก้ไขที่ได้กล่าวมานั้น คาดว่าจะสามารถช่วยลดของเสีย ที่เกิดขึ้นได้และทำให้การทำงานมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น en
dc.language.iso th en
dc.publisher มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ en
dc.rights มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ en
dc.subject อุตสาหกรรมเสื้อผ้าสำเร็จรูป en
dc.subject Ready-to-wear clothing industry en
dc.subject การควบคุมกระบวนการผลิต en
dc.subject Process control en
dc.subject การควบคุมความสูญเปล่า en
dc.subject Loss control en
dc.subject การลดปริมาณของเสีย en
dc.subject Waste minimization en
dc.subject การควบคุมคุณภาพ en
dc.subject Quality control en
dc.subject การเพิ่มผลผลิตทางอุตสาหกรรม en
dc.subject Industrial productivity en
dc.subject บริษัท ฟูลมาร์ค เมนูแฟคเจอริ่ง จำกัด en
dc.subject Fullmark Manufacturung Co., Ltd. en
dc.title การลดปริมาณของเสียในกระบวนการผลิตของอุตสาหกรรมเสื้อผ้าสำเร็จรูป : กรณีศึกษา บริษัท ฟูลมาร์ค เมนูแฟคเจอริ่ง จำกัด en
dc.title.alternative Defect Reduction in Production Process of the Garment Industry : A Case Study of Fullmark Manufacturung Co., Ltd. en
dc.type Independent Studies en
dc.degree.name บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต en
dc.degree.level ปริญญาโท en
dc.degree.discipline การจัดการอุตสาหกรรม en


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account