dc.contributor.advisor |
สิทธิโชค สินรัตน์ |
|
dc.contributor.advisor |
Sittichok Sinrat |
|
dc.contributor.author |
สุนิสา ถิ่นมาบแค |
|
dc.contributor.author |
Sunisa Thinmabkhae |
|
dc.contributor.other |
Huachiew Chalermprakiet University. Faculty of Business Administration |
|
dc.date.accessioned |
2022-06-21T13:47:37Z |
|
dc.date.available |
2022-06-21T13:47:37Z |
|
dc.date.issued |
2018 |
|
dc.identifier.uri |
https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/455 |
|
dc.description |
วิทยานิพนธ์ (กจ.ม.) (การจัดการอุตสาหกรรม) -- มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2561. |
th |
dc.description.abstract |
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อจากการทำงานและศึกษาปัจจัยเสี่ยงทางการยศาสตร์ เพื่อหาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทางการยศาสตร์กับอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อจากการทำงานของพนักงานฝ่ายผลิตในอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ กลุ่มตัวอย่าง 389 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณาและทดสอบความสัมพันธ์โดยใช้สถิติทดสอบไคสแควร์ (Chi-square) ผลการศึกษา พบว่า อาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อจากการทำงานในช่วง 7 วันและ 12 เดือนที่ผ่านมา เท่ากับ ร้อยละ 88.7 และร้อยละ 92.5 ตามลำดับ โดยในช่วง 7 วันที่ผ่านมา กลุ่มตัวอย่างมีอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อจากการทำงานบริเวณคอมากที่สุด ร้อยละ 42.7 รองลงมา บริเวณไหล่ร้อยละ 41.9 บริเวณหลังส่วนล่าง ร้อยละ 28.3 และในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมา มีอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อจากการทำงานบริเวณคอมากที่สุด ร้อยละ 5.06 รองลงมา บริเวณหลังส่วนล่าง ร้อยละ 48.8 บริเวณไหล่ ร้อยละ 47.0 และพบว่า กลุ่มตัวอย่างสัมผัสปัจจัยเสี่ยงทางการยศาสตร์มากกว่า 2 ชั่วโมงต่อวัน โดยมีการทำงานโดยการก้มหรือเงยคอและทำงานโดยการเคลื่อนไหวมือหรือข้อมือซ้ำ หรือมีการเคลื่อนไหวที่เหมือนเดิมมากที่สุด ร้อยละ 87.4 รองลงมา ทำงานโดยการงอหลังหรือโน้มลำตัวมาด้านหน้า ร้อยละ 81.7 ทำงานโดยใช้เครื่องมือที่มีความสั่นสะเทือน ร้อยละ 78.9 เมื่อทดสอบหาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยเสี่ยงทางการยศาสตร์กับอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อจากการทำงาน พบว่าปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อในช่วง 7 วันที่ผ่านมา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value<0.05X) ได้แก่ การทำงานโดยการก้มหรือเงยคอ การทำงานโดยการงอหลังหรือโน้มลำตัวมาด้านหน้า การทำงานโดยการบิดหมุนมือหรือข้อมือ การทำงานโดยการเคลื่อนไหวมือหรือข้อมือซ้ำหรือมีการเคลื่อนไหวที่เหมือนเดิม และพบว่าปัจจัยเสี่ยงทางการยศาสตร์ไม่มีความสัมพันธ์กับอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อจากการทำงาน ในช่วง 12 เดือนที่ผ่านมา (p-value>0.05) |
th |
dc.description.abstract |
The main purposes of this study were to examine work-related musculoskeletal injuries, ergonomic risk factors and the association between ergonomic risk factors and work-related musculoskeletal injuries in jewelry industry workers. Participants were 389 in jewelry industry workers. Data were analyzed using descriptive static and Chi-square test. The results showed that 88.7 percent and 92.5 percent of the samples had work-related musculoskeletal injuries during the 7 day and 12 month period. For work-related musculoskeletal injuries during the 7 day period, it was found that 42.7 percent had neck injuries, 41.9 percent had shoulders injuries and 28.3 percent had lower back injuries. For work-related musculoskeletal injuries during the 12 month period, it was found that 50.6 percent had neck injuries, 48.8 percent had lower back injuries, and 47.0 percent had shoulders injuries. Found that exposure ergonomic risk factors more than 2 hours/day with works by bending or lifting your neck and works by moving your hands or wrists or repetitive motion 87.4 percent, works by bending your back or forward trunk inclination 81.7 percent, work using tools vibration 78.9 percent. The relationship between ergonomic risk factors and work-related musculoskeletal injuires, works by bending or lifting your neck, works by bending your back or forward trunk inclination, works by hand or wrist rotation, works by mocing your hands or wrists or repetitive motion was significantly associated with work-related musculoskeletal injuries during the 7 day period (p-value<0.05). The relationship between ergonomic risk factors and work-related musculoskeletal injuries during the 12 month period no significantly. |
th |
dc.language.iso |
th |
th |
dc.publisher |
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ |
th |
dc.subject |
เออร์โกโนมิกส์ |
th |
dc.subject |
Human engineering |
th |
dc.subject |
กล้ามเนื้อ |
th |
dc.subject |
Muscles |
th |
dc.subject |
ความเจ็บปวด |
th |
dc.subject |
Pain |
th |
dc.subject |
โรคเกิดจากอาชีพ |
th |
dc.subject |
Occupational diseases |
th |
dc.subject |
อุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ -- พนักงาน |
th |
dc.title |
ปัจจัยที่ส่งผลต่อความเสี่ยงทางการยศาสตร์ของพนักงานฝ่ายผลิตในอุตสาหกรรมอัญมณีและเครื่องประดับ |
th |
dc.title.alternative |
Factots Association of Ergonomic Risk in Jewelry Industry Workers |
th |
dc.type |
Thesis |
th |
dc.degree.name |
การจัดการมหาบัณฑิต |
th |
dc.degree.level |
ปริญญาโท |
th |
dc.degree.discipline |
การจัดการอุตสาหกรรม |
th |