DSpace Repository

“怨而不怒哀而不伤” 徐志摩诗歌抒情的审美积淀

Show simple item record

dc.contributor.advisor 黄河
dc.contributor.advisor Huang, He
dc.contributor.advisor หวง, เหอ
dc.contributor.author 蔡丽香
dc.contributor.author วิภา ธนสารศิริสุข
dc.date.accessioned 2022-07-31T04:45:58Z
dc.date.available 2022-07-31T04:45:58Z
dc.date.issued 2010
dc.identifier.uri https://has.hcu.ac.th/jspui/handle/123456789/591
dc.description Thesis (M.A.) (Modern and Comtemporary Chinese Literature) -- Huachiew Chalermprakiet University, 2010 th
dc.description.abstract สาเหตุสำคัญประการหนึ่งที่ทำให้บทกลอนของสวีจื้อหมอ มีความซาบซึ้งประทับใจเพราะเป็นการพรรณนาอารมณ์ในแนวทางสายกลาง คือ ไม่โกรธจนคลั่งแค้น ไม่เศร้าจนฟูมฟายการพรรณนาอารมณ์เช่นนี้ได้รับมาจากความต้องการความสุนทรีย์ขั้นพื้นฐานของบทกลอนโบราณาณจีน สวีจื้อหมอ ได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐานจากโรงเรียนได้รับการปูพื้นฐานที่เป็นแบบฉบับการเรียนสมัยก่อนอย่างลึกซึ้ง บทกลอนส่วนใหญ่ของสวีจื้อหมอ จะแสดงออกถึงจุดเด่นของจินตนาการ ซึ่งเป็นส่วนของวรรณคดีที่สืบทอดกันมา และการแสดงออกในแนวทางสายกลางการแฝงอารมณ์ ความรู้สึกตามปรัชญาลัทธิหยู แม้กระทั่งความเป็นธรรมชาติตามปรัชญาลัทธิเต๋า โดยเฉพาะปรัชญาหยูที่ก่อให้เกิดการสืบทอดดความสุนทรีย์ในแนวทางสายกลาง ดังตัวอย่างบทกลอน จ้ายเป๋คังเฉียว ซึ่งกวีได้พรรณนาความทุกข์ที่จะต้องจากสถานที่ที่รักอาลัยนี้ไปโดยพรรณนาความทุกข์ไว้อย่างเบาบาง เลือนลางจากบทกลอนบอกให้รู้ว่ากวีพยายามข่มความรู้สึก เพราะกลอนทั้งบทได้แต่เขียนพรรณนาธรรมชาติความสวยงามของแม่น้ำคัง ไม่แสดงความทุกข์ในการจากจนถึงกับฟูมฟาย นี่คือการที่ได้รับอิทธิพลมาจากวัฒนธรรมที่สืบทอดมา จุดสำคัญของบทความนี้ เป็นการนำเอามุมมองในลักษณะแนวทางสายกลางที่เป็นวัฒนธรรมประเพณีที่สืบทอดมาและมีผลกระทบต่อกลอนใหม่ของสวีจื้อหมอมาวิเคราะห์ ด้วยเหตุนี้จึงต้องยกตัวอย่างบทประพันธ์กลอนเก่าของจีนและกลอนใหม่ของสวีจื้อหมอ ที่มีภาพเหตุการณ์ที่คล้ายกันมาเปรียบเทียบคู่กันไป th
dc.description.abstract One of the main reasons that makes Xu Zhimo's poems so impressive is the way of his description of the middle way emotion which it's not extremely angry nor extremely sad. The style of this description has got from the need of basic beauty of the ancient Chinese poems. Xu Zhimo had his elementary education from school. He got a very strone ancient style education. Most of his poems express the dominant of imagination which is part of literature that handed down, and the expression of middel way concept, the latency of emotion from the philosophy of Ru's creed, even the natural way of the philosopgy of Tao's creed, particularly the philosophy of Ru which creates the continuation of the beauty of the middle way concept. For example, the poem "Zai bie kang qiao" which describes the suffering from leaving the beloved place by describing the sadness in slight and vague way. The poem implies that the poet tries to conceal his feeling because the whole poem describes only the natural beauty of the river "Kang", without showing the strong suffering from leaving. This is what has been influenced from the culture which has been inherited. The important part of this passage is to bring the middle way concept point of view which is the inherited culture and affects Xu Zhimo's new poems to analyse. For the reason, the examples of the ancient Chinese poems and of Xu Zhimo's new poems which there are some similar parts must be raised to make comparisom alongside. th
dc.description.abstract 徐志摩的诗所以动人,一个重要原因就是 “怨而不怒哀而不伤” 的抒情风貌,这种抒情风貌,深受了中国古代诗歌对抒情的基本审美要求,徐志摩自幼及长皆深受古代传统文化之教育及儒家思想的中庸特点的影响,使其在诗歌表现上具有温柔敦厚的抒情风貌。他的启蒙教育基本上是在私塾中进行,有打下了较为深厚的古典底下。在徐志摩的大部分诗歌中都体现了传统文学中的意境,意象特点,儒家思想的中庸和含蓄,甚至道家思想的自然,尤其是在儒家思想的影响下形成了 “怨而不怒而不伤” 的审美传统。以《再别康桥》为例,诗人将那种浓郁的离别化得淡雅、缥缈。从头到尾表现出对自我的压抑,对情感的克制,但在整个诗中,只是恣意渲染康河的美景,没有困难以割舍的别情而泪下。这是其创作深受民族传统文化规范的影响。 徐志摩是新月派之核心人物,曾致力于新诗之格律化,非但讲究体裁协韵及声调之完美,对新诗那风格意境的追求亦极为严谨,不仅提高新诗的学术性,亦增强新诗的艺术魅力,将当年的新诗推向时代的高峰,深深的影响了新月派后起之秀们的诗风,是开辟新诗途径的文化先锋! 本文重点是从民族文化传统对徐志摩诗歌影响的角度对徐志摩诗歌的 “怨而不怒哀而不伤” 作些分析。故将中国旧体诗与徐志摩新诗作对比,且尚须符合 “怨而不怒哀而不伤” 的抒情审美风貌。举些情景颇同之作,互作对比。
dc.language.iso zh th
dc.publisher Huachiew Chalermprakiet University th
dc.subject สวี, จื้อหมอ th
dc.subject Xu, Zhimo th
dc.subject 徐志摩 th
dc.subject วรรณกรรมจีน -- ประวัติและวิจารณ์ th
dc.subject Chinese literature -- History and criticism th
dc.subject กวีนิพนธ์จีน th
dc.subject Chinese poetry th
dc.subject สุนทรียศาสตร์ th
dc.subject Aesthetics th
dc.subject การวิเคราะห์เนื้อหา th
dc.subject Content analysis (Communication) th
dc.subject จีน -- ความเป็นอยู่และประเพณี th
dc.subject China -- Social life and customs th
dc.subject 中国文学 -- 历史与批评
dc.subject 中国诗歌
dc.subject 美学
dc.subject 内容分析
dc.subject 中国$x社会生活和习俗
dc.title “怨而不怒哀而不伤” 徐志摩诗歌抒情的审美积淀 th
dc.title.alternative ความสุนทรีย์ของกวีนิพนธ์พรรณาอารมณ์แนวทางสายกลางของสวีจื้อหมอ th
dc.title.alternative The Pleasant Beauty of Xu Zhimo's Poetry Expressing the Dispassionate Middle Way th
dc.type Thesis th
dc.degree.name ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต th
dc.degree.level ปริญญาโท th
dc.degree.discipline วรรณคดีจีนสมัยใหม่และร่วมสมัย th


Files in this item

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account